จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี มีนาคม พ.ศ. 2535 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2531 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

← พ.ศ. 2531 22 มีนาคม พ.ศ. 2535 กันยายน พ.ศ. 2535 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน402,285
ผู้ใช้สิทธิ50.73%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ สมบุญ ระหงษ์ จำลอง ศรีเมือง ชวน หลีกภัย
พรรค ชาติไทย พลังธรรม ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 2 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อานันท์ ปันยารชุน
อิสระ (คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สุจินดา คราประยูร
อิสระ

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

แก้

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาญจนบุรี, อำเภอสังขละบุรี, อำเภอทองผาภูมิ, อำเภอไทรโยค, อำเภอศรีสวัสดิ์, อำเภอบ่อพลอย, อำเภอเลาขวัญ และกิ่งอำเภอด่านมะขามเตี้ย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังธรรม พินิจ จันทร์สมบูรณ์ (7)* 49,079
ชาติไทย นาวาโท เดชา สุขารมณ์ (6) 41,797
ประชาธิปัตย์ คงศักดิ์ กลีบบัว (13)✔ 38,820
ชาติไทย พลตำรวจโท จำรัส มังคลารัตน์ (5)* 35,453
พลังธรรม นัส เสรยศสกล (8) 5,835
ความหวังใหม่ พันตรี รังสรรค์ ประดิษฐพงษ์ (1) 5,358
ประชาธิปัตย์ ร้อยตรี วิจิตร เอี่ยมสวัสดิ์ (14) 3,500
ความหวังใหม่ เสนาะ ศิลาแรง (2) 3,072
กิจสังคม จ่าสิบเอก ดฤษดิ์ดุลย์ จันทวงศ์ (4) 2,179
กิจสังคม ณรงค์ รุ่งเรือง (3) 1,660
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมรัตน์ รัตน์นิตย์ (12) 730
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) นิวัฒน์ เภาจี๋ (11) 324
ประชาชาติ (พ.ศ. 2531) เผดิม สิริเวชชะพันธ์ (9)
ประชาชาติ (พ.ศ. 2531) สมพร อ่อนนิ่ม (10)
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังธรรม รักษาที่นั่ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอพนมทวน, อำเภอท่าม่วง และอำเภอท่ามะกา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดราชบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย เรวัต สิรินุกุล (3)* 54,038
ชาติไทย สันทัด จีนาภักดิ์ (4) 35,579
ความหวังใหม่ ประวิทย์ เจนวีระนนท์ (1) 30,689
ประชาธิปัตย์ ชวิน เป้าอารีย์ (5)* 19,479
สามัคคีธรรม อำนวย แช่มช้อย (9) 18,086
สามัคคีธรรม ธวัชชัย วงษ์ไทย (10) 5,213
ความหวังใหม่ สุพัฒน์ อดุลย์ศิริอังกูร (2) 1,680
ประชาธิปัตย์ ประสงค์ สดใส (6) 1,088
ประชากรไทย วิมิตร จันทร์พฤกษ์ (7) 817
ประชากรไทย ประสาน เรืองแสง (8) 728
เอกภาพ กวีศักดิ์ เหมะภูติ (14)✔ 379
เอกภาพ บุญนำ โม่มาลา (13) 221
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) เวช เภาจี๋ (11) 176
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) จรินทร์ พิกุลทอง (12) 72
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๕. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2535