กลุ่มภาษาเตอร์กิก

กลุ่มภาษาเตอร์กิกเป็นกลุ่มของภาษาที่แพร่กระจายจากยุโรปตะวันออก ผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปถึงไซบีเรียและจีนตะวันตก และจัดเป็นส่วนหนึ่งของสมมติฐานตระกูลภาษาอัลไต กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 180 ล้านคน ถ้ารวมผู้ที่พูดเป็นภาษาที่สองด้วยมีราว 200 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นผู้พูดภาษาตุรกี ซึ่งคิดเป็น 40%ของผู้พูดกลุ่มภาษานี้ทั้งหมด

กลุ่มภาษาเตอร์กิก
กลุ่มเชื้อชาติ:กลุ่มชนเตอร์กิก
ภูมิภาค:เอเชียตะวันตก
เอเชียกลาง
เอเชียเหนือ (ไซบีเรีย)
เอเชียตะวันออก (ตะวันออกไกล)
คอเคซัส
ยุโรปตะวันออก
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
หนึ่งในตระกูลของภาษาหลักของโลก
ภาษาดั้งเดิม:เตอร์กิกดั้งเดิม
กลุ่มย่อย:
ISO 639-5:trk
กลอตโตลอก:turk1311[1]
{{{mapalt}}}

การจัดจำแนก แก้

ลักษณะที่สำคัญของกลุ่มภาษาเตอร์กิกคือการเปลี่ยนเสียงสระ การเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อโดยใช้ปัจจัย ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม การเรียงประโยคโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ลักษณะของภาษาแบบนี้พบในกลุ่มภาษามองโกเลีย กลุ่มภาษาตังกูสิตและภาษาเกาหลีด้วย

ประวัติ แก้

การแพร่กระจายของผู้พูดกลุ่มภาษาเตอร์กิกแพร่กระจายในบริเวณยูเรเชียจากตุรกีทางตะวันตกไปจนถึงไซบีเรียทางตะวันออกเฉียงเหนือ[2]

 
การแพร่กระจายของตระกูลภาษาอัลไตอิกจากยูเรเชีย รวมภาษาญี่ปุ่นและภาษาเกาหลี

การบันทึกในยุคแรก แก้

บันทึกของกลุ่มภาษาเตอร์กิกเริ่มพบเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 โดยเป็นจารึกอักษรออร์คอนของชาวกอกเติร์กเขียนด้วยภาษาเตอร์กิกโบราณ ซึ่งค้นพบครั้งแรกเมือ พ.ศ. 2432 ที่หุบเขาออร์คอนในมองโกเลีย หนังสือ Compendium of the Turkic Dialects ( Divânü Lügati't-Türk) เขียนเมื่อพุทธศตวรรษที่ 16 โดย Kaşgarlı Mahmud ของดินแดนการา-คานิดข่านเป็นเอกสารภาษาศาสตร์ชุดแรกของกลุ่มภาษานี้ซึ่งเน้นที่กลุ่มภาษาตะวันตกเฉียงใต้ หนังสือ Cordex Cumanicus ได้กล่าวถึงสาขาตะวันตกเฉียงเหนือเทียบระหว่างภาษาคิปชาก กับภาษาละตินที่ใช้โดยมิชชันนารีนิกายโรมันคาทอลิกซึ่งส่งไปยังคูมานที่อยู่ในฮังการีและโรมาเนีย บันทึกรุ่นแรกของภาษาของชาวโวลกา บุลกาชิที่กลายมาเป็นภาษาชูวาสในปัจจุบัน เริ่มพบในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18-19

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์และพัฒนาการ แก้

จากการแพร่กระจายของชาวเตอร์กในยุคกลางตอนต้น กลุ่มภาษาเตอร์กิกได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เริ่มจากไซบีเรีย (สาธารณรัฐซาคา) ไปถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (เซลจุกเตอร์ก) หน่วยของกลุ่มภาษาเตอร์กิก ได้แพร่หลายไปเป็นส่วนหนึ่งของภาษาฮังการี ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู ภาษารัสเซีย ภาษาจีน และภาษาอาหรับ

การจัดจำแนก แก้

เป็นเวลาหลายศตวรรษที่ผู้พูดกลุ่มภาษาเตอร์กิกได้เคลื่อนย้ายอย่างต่อเนื่อง และได้ติดต่อกับภาษาที่อยู่ใกล้เคียง ทั้งกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาสลาฟ และกลุ่มภาษามองโกเลีย โดยทั่วไป กลุ่มภาษาเตอร์กิกแบ่งได้เป็น 6 สาขา คือ

อาจรวมกลุ่มภาษาตะวันตกเฉียงใต้ กลุ่มภาษาตะวันตกเฉียงเหนือ กลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงใต้ และกลุ่มภาษาโอคูร์เข้าเป็นกลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันตก ที่เหลือจัดเป็นกลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันออก ทางด้านภูมิศาสตร์และภาษาศาสตร์ จัดให้ กลุ่มภาษาตะวันตกเฉียงเหนือ กลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงใต้รวมเป็นกลุ่มภาษาเตอร์กิกกลาง ส่วนกลุ่มภาษาตะวันออกเฉียงเหนือ และภาษาแฆแลจจัดเป็นภาษาที่อยู่ที่ราบ

สมาชิก แก้

ต่อไปนี้เป็นสมาชิกของกลุ่มภาษาเตอร์กิกที่จัดจำแนกโดย Lars Johanson (1998)[3]

ภาษาเตอร์กิกดั้งเดิม กลุ่มภาษาโอคุซ

 

 
กลุ่มภาษาโอคุซตะวันตก
กลุ่มภาษาโอคุซตะวันออก
กลุ่มภาษาโอคุซใต้
กลุ่มภาษาคิปชาก

 

 
กลุ่มภาษาคิปชากตะวันตก
กลุ่มภาษาคิปชากเหนือ
กลุ่มภาษาคิปชากใต้
กลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันออกเฉียงใต้

 

ตะวันตก
ตะวันออก
กลุ่มภาษาเตอร์กิกตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มภาษาไซบีเรียเหนือ
กลุ่มภาษาไซบีเรียใต้ ภาษาเตอร์กซายัน
ภาษาเตอร์กเยนิเซย์
ภาษาเตอร์กชูเลียม
ภาษาเตอร์กอัลไต [10]
ภาษาโอคูร์  
ภาษาอาร์คู  

การเปรียบเทียบคำศัพท์ แก้

ความหมายทั่วไป ภาษาเตอร์กิกโบราณ ภาษาตุรกี ภาษาอาเซอร์ไบจาน ภาษาเติร์กเมน ภาษาตาตาร์ ภาษาคาซัค ภาษาคีร์กิซ ภาษาอุซเบก ภาษาอุยกูร์ ภาษาซาคา ภาษาชูวาส
บุคคล บรรพบุรุษ Ata Ata Ata Ata Ata Ata Ata Ota Ata Atte
แม่ Ana Anne, Ana Ana Ene Ana Ana Ene Ona Ana Anne
ลูกชาย O'gul Oğul Oğul Oğul Ul, uğıl Ul Uul O'gil Oghul Uol Yvăl, Ul
ผู้ชาย Er(kek) Erkek Er /Kişi Erkek İr Er(kek) Erkek Erkak Er Er Ar
เด็กหญิง Kyz Kız Qız Gyz Qız Qız Kız Qiz Qiz Ky:s Hĕr
บุคคล Kişi Kişi Kişi Keşe Kisi Kishi Kishi Kishi Kihi
Bride Kelin Gelin Gəlin Gelin Kilen Kelin Kelin Kelin Kelin Kylyn Kin
Mother-in-law Kaynana Qaynana Gayın ene Qayın ana Qayın ene Kaynene Qayın ona Qeyinana Hun'ama
Body parts Heart Yürek Yürek Ürək Ýürek Yöräk Jürek Jürök Yurak Yürek Süreq Čĕre
Blood Qan Kan Qan Ga:n Qan Qan Kan Qon Qan Qa:n Jun
Head Baš Baş Baş Baş Baş Bas Bash Bosh Baş Bas Puś
Hair Qıl Kıl Qıl Qyl Qıl Qıl Kıl Qil Qil Kıl
Eye Köz Göz Göz Göz Küz Köz Köz Ko'z Köz Kos Kuś
Eyelash Kirpik Kirpik Kiprik Kirpik Kerfek Kirpik Kirpik Kiprik Kirpik Kirbi: Hărpăk
Ear Qulqaq Kulak Qulaq Gulak Qolaq Qulaq Kulak Quloq Qulaq Gulka:k Hălha
Nose Burun Burun Burun Burun Borın Murın Murun Burun Burun Murun
Arm Qol Kol Qol Gol Qul Qol Kol Qo'l Qol Hul, Hol
Hand El(ig) El Əl El Alaqan Alakan Ili: Ală
Finger Barmak Parmak Barmaq Barmak Barmaq Barmaq Barmak Barmoq Barmaq Pürne, Porn'a
Fingernail Tyrnaq Tırnak Dırnaq Dyrnaq Tırnaq Tırnaq Tyrmak Tirnoq Tirnaq Tynyraq Čĕrne
Knee Tiz Diz Diz Dy:z Tez Tize Tize Tizza Tiz Tüsäχ Čĕrpuśśi
Calf Baltyr Baldır Baldır Baldyr Baltır Baldır Baltyr Boldyr Baldir Ballyr
Foot Adaq Ayak Ayaq Aýak Ayaq Ayaq Ayak Oyoq Ayaq Ataq Ura
Belly Qaryn Karın Qarın Garyn Qarın Qarın Karyn Qorin Qerin Qaryn Hyrăm
Animals Horse At At At At At At At Ot At At Ut
Cattle Siyir Sığır Inek Sygyr Sıyır Sïır Sıyır Sigir Siyir
Dog Yt İt/Köpek İt It Et Ït It It It Yt Jytă
Fish Balyq Balık Balıq Balyk Balıq Balıq Balık Baliq Beliq Balyk Pulă
Louse Bit Bit Bit Bit Bet Bït Bit Bit Pit Byt Pyjtă, Put'ă
Other nouns House Uy Ev Ev Öý Öy Üy Üy Uy Uy Av*
Tent Otag Otağ/Çadır Otag Otaw Otaq Otu:
Way Yol Yol Yol Yo:l Yul Jol Jol Yo'l Yol Suol Śul
Bridge Köprüq Köprü Körpü Köpri Küper Köpir Köpürö Ko'prik Kövrük Kürpe Kĕper
Arrow Oq Ok Ox Ok Uq Oq Ok O'q Oq Uhă
Fire Ot Od Od Ot Ut Ot Ot O't Ot Uot Vut, Vot
Ash Kül Kül Kül Kül Köl Kül Kül Kul Kül Kül Kĕl
Water Suv Su Su Suw Su Sw Suu Suv Su Ui Šyv, Šu
Ship, boat Kemi Gemi Gəmi Gämi Köymä Keme Keme Kema Keme Kimĕ
Lake Köl Göl Göl Köl Kül Köl Köl Ko'l Köl Küöl Külĕ
Sun/Day Küneš Gün(eş) Gün(əş) Gün Kön Kün Kün Kun Kün Kün Kun
Cloud Bulut Bulut Bulud Bulut Bolıt Bult Bulut Bulut Bulut Bylyt Pĕlĕt
Star Yulduz Yıldız Ulduz Ýyldyz Yoldız Juldız Jıldız Yulduz Yultuz Sulus Śăltăr
Earth Topraq Toprak Torpaq Toprak Tufraq Topıraq Topurak Tuproq Tupraq Toburaχ Tăpra
Hilltop Töpü Tepe Təpə Depe Tübä Töbe Töbö Tepa Töpe Töbö Tüpĕ
Tree/Wood Yağac Ağaç Ağac Agaç Ağaç Ağaş Jygach Yog'och Jyvăś
God (Tengri) Tengri Tanrı Tanrı Taňry Täñre Täñiri Teñir Tangri Tengri Tanara Tură, Toră
Sky, Blue Kök Gök Göy Gök Kük Kök Kök Ko'k Kök Küöq Kăvak, Koak
Adjectives Long Uzun Uzun Uzun Uzyn Ozın Uzın Uzun Uzun Uzun Uhun Vărăm
New Yany Yeni Yeni Yany Yaña Jaña Jañı Yangi Yengi Sana Śĕnĕ
Fat Semiz Semiz/Şişman Semiz Simez Semiz Semiz Semiz Semiz Emis Samăr
Full Tolu Dolu Dolu Do:ly Tulı Tolı Tolo To'la Toluq Toloru Tulli
White Aq Ak Ak Aq Aq Ak Oq Aq
Black Qara Kara Qara Gara Qara Qara Kara Qora Qara Xara Hura
Red Qyzyl Kızıl Qızıl Gyzyl Qızıl Qızıl Kızıl Qizil Qizil Kyhyl Hĕrlĕ
Numbers 1 Bir Bir Bir Bir Ber Bir Bir Bir Bir Bi:r Pĕrre
2 Eki İki İki Iki İke Eki Eki Ikki Ikki Ikki Ikkĕ
4 Tört Dört Dörd Dö:rt Dürt Tört Tört To'rt Tört Tüört Tăvattă
7 Yeti Yedi Yeddi Yedi Cide Jeti Jeti Yetti Yetti Sette Śiččĕ
10 On On On O:n Un On On O'n On Uon Vunnă, Vonnă
100 Yüz Yüz Yüz Yüz Yöz Jüz Jüz Yuz Yüz Sü:s Śĕr

อ้างอิง แก้

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Turkic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. Turkic Language tree entries provide the information on the Turkic-speaking regions.
  3. Lars Johanson (1998) The History of Turkic. In Lars Johanson & Éva Ágnes Csató (eds) The Turkic Languages. London, New York: Routledge, 81-125. [1]
  4. Crimean Tatar and Urum are historically Kipchak languages, but have been heavily influenced by Oghuz languages.
  5. Tura, Baraba, Tomsk, Tümen, Ishim, Irtysh, Tobol, Tara, etc. are partly of different origin (Johanson 1998) [2]
  6. Of Altai Turkic origin, but recently closer to Kazakh (Johanson 1998)
  7. Deviating. Probably of South Siberian origin (Johanson 1998)
  8. Deviating. Historically developed from Southwestern (Oghuz) (Johanson 1998) [3]
  9. Aini contains a very large Persian vocabulary component, and is spoken exclusively by adult men, almost as a cryptolect.
  10. Some dialects are close to Kirghiz (Johanson 1998)
  11. Khalaj is surrounded by Oghuz languages, but exhibits a number of features that classify it as non-Oghuz.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้