แม่พระพาย
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
พระนางภารตี หรือ เป็นที่รู้จักและเคารพบูชาในไทยในชื่อของแม่พระพาย (อังกฤษ: Bharati,สันสกฤต: देवी स्वास्थी,) หรือ พระนางสวาตี (อังกฤษ: Svasti )หรือ พระนางลหรี (อังกฤษ: Lehari )เป็น เทพธิดาในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพีแห่งลม และเป็นเทพชายาของพระวายุเทพเจ้าแห่งลมในศาสนาฮินดู .[3]นอกจากนี้ พระนางยังได้รับการกล่าวถึงชื่อในฐานะสักขีพยานในการทำบุญและกรวดน้ำต่างๆของชาวพุทธร่วมกับเทพบุตรและเทพธิดาต่างๆของคติฮินดูเช่นพระนางสวาหา พระนางคงคา ด้วย..[4] [5] [6] [7] [8]
พระนางภารตี แม่พระพาย देवी स्वास्थी | |
---|---|
ชายาพระพาย เทพนารีแห่งลม การสมรส | |
ส่วนหนึ่งของ เทพีผู้รักษาอัฐโลกบาล | |
จิตรกรรมเจ้าแม่ภารตี ศิลปะแบบประเพณีอินเดีย พุทธศตวรรษที่สิบสาม ณ ทิวาละมณเฑียร กลุ่มโบราณสถานสิรปุระ เขตมหาสมันตร์ รัฐฉัตตีสครห์ ประเทศอินเดีย | |
ชื่ออื่น | สวาตี ลหรี |
ส่วนเกี่ยวข้อง | ศักติพระพายุ พระเทวี เทพีอัฐโลกบาล เทพมารดร นิกายศักติ เทพคณะปัญจภูตะ |
ที่ประทับ | ปาวันโลก (อังกฤษ: Pawanloka)และเทวสภา |
มนตร์ | เทวีสวาตีมนตร์ |
อาวุธ | ธงสีขาว วาลวีชนี ดอกบัว |
พาหนะ | กวาง แอนทิโลป |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
คู่ครอง | พระวายุ[1][2] |
บุตร - ธิดา | ภีม (บุตรบุญธรรม) หนุมาน (บุตรบุญธรรม) |
เทพที่เทียบเท่าในความเชื่ออื่น | |
เทียบเท่าในกรีก | พระแม่การ์เดีย (Cardea) |
เทียบเท่าในโรมัน | พระแม่การ์เดีย (Cardea) |
ในศาสนาฮินดู
แก้ในฐานะที่เป็นเทพธิดาพระนางถือเป็นศักติของพระพาย ในคัมภีร์ ปุราณะและมหาภารตะ ของศาสนาฮินดู พระนางเป็นผู้อวตารเป็นพระนางเทราปตี ชายาของห้าพี่น้องราชวงศ์ปาณฑพ.[9] [10] [11] [12] [13]
ดูเพิ่ม
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ แม่พระพาย
อ้างอิง
แก้- ↑ Gaṇeśa Harī Khare; Madhukar Shripad Mate; G. T. Kulkarni (1974). Studies in Indology and Medieval History: Prof. G. H. Khare Felicitation Volume. Joshi & Lokhande Prakashan. p. 244.
In Vayu and other Puranas, Vayudeva (different from Astadikpala Vayu), next to Brahma in grade, is also said to have five heads like Siva and Brahma and his consort is Bharatidevi.
- ↑ M. V. Krishna Rao (1966). Purandara and the Haridasa Movement. Karnatak University. p. 200.
- ↑ https://www.indiaforums.com/forum/topic/3769391
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-26. สืบค้นเมื่อ 2020-02-14.
- ↑ http://www.sumnakcharang.com/budmon48.php
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-14. สืบค้นเมื่อ 2020-02-14.
- ↑ https://www.nectec.or.th/schoolnet/library/create-web/10000/religion/10000-6089.html
- ↑ http://www.tangnipparn.com/page23_b00k4.html
- ↑ https://www.quora.com/Is-the-Draupadi-avatar-of-the-goddess-Lakshmi-Why-didnt-she-marry-Krishna
- ↑ https://www.speakingtree.in/blog/draupadi-incarnation-of-goddess
- ↑ https://www.religiousforums.com/threads/draupadi-a-goddess.101496/
- ↑ https://www.dollsofindia.com/library/sita-draupadi/
- ↑ https://wiralfeed.wordpress.com/2015/11/07/draupadi-from-mahabharata/