เทพเจ้าฮินดู

ศาสนาฮินดูมีคติการนับถือเทพเจ้าหลายองค์ แต่ละองค์ต่างมีลัทธิบูชาโดยเฉพาะ แต่ละยุคสมัย ใช้ตำนานเชื่อมต่อที่แตกต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่ง ๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปเรียกเทพผู้ชายว่าเทวดา (สันสกฤต: देवता) และเทพผู้หญิงว่าเทวี (สันสกฤต: देवी)[1][2][3][4][5]

เทพเจ้าในศาสนาฮินดู
055 Brahma, 11c, Lopburi (35252890935).jpg
Saraswati at the Brihadeshwara temple, Gangaikondacholapuram, Tamil Nadu.jpg
077 Visnu, 14c, Sukhothai (35086946062).jpg
105 Laxmi, 16c, Ayutthaya (35122811141).jpg
078 Isvara, 14c, Sukhothai (34443558853).jpg
พระวิษณุศิลปะสุโขทัย เดิมอยู่หอเทวาลัยเกษตรพิมาน.
Cambogia, la dea durga che uccide il demone bufalo (mahishasuramardini), periodo angkor, x secolo.jpg
พระทุรคาศิลปะเขมร เดิมอยู่หอเทวาลัยเกษตรพิมาน.
080 Harihara, 15c, Sukhothai (34443556973).jpg
พระหริหระศิลปะสุโขทัย เดิมอยู่หอเทวาลัยเกษตรพิมาน
Ardhanarishvara, Chola period, 11th century, Government Museum, Chennai (3).jpg
พระอรรธนารีศวร ศิลปะโจฬะ พิพิธภัณฑ์นครเจนไน.

อ้างอิงแก้ไข

  วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เทพเจ้าฮินดู

  1. Radhakrishnan and Moore (1967, Reprinted 1989), A Source Book in Indian Philosophy, Princeton University Press, ISBN 978-0691019581, pages 37-39, 401-403, 498-503
  2. Nicholas Gier (2000), Spiritual Titanism: Indian, Chinese, and Western Perspectives, State University of New York Press, ISBN 978-0791445280, pages 59-76
  3. Jeaneane D Fowler (2012), The Bhagavad Gita, Sussex Academic Press, ISBN 978-1845193461, pages 253-262
  4. Renou 1964, p. 55
  5. Mike Burley (2012), Classical Samkhya and Yoga - An Indian Metaphysics of Experience, Routledge, ISBN 978-0415648875, page 39-41;
    Lloyd Pflueger, Person Purity and Power in Yogasutra, in Theory and Practice of Yoga (Editor: Knut Jacobsen), Motilal Banarsidass, ISBN 978-8120832329, pages 38-39;
    Kovoor T. Behanan (2002), Yoga: Its Scientific Basis, Dover, ISBN 978-0486417929, pages 56-58