มาสชีนเนินพิสโทเลอ 40 (Maschinenpistole 40) เป็นปืนกลมือลำกล้องสำหรับขนาด 9×19 มม. กระสุนปืนพาราเบลลัม ได้รับการพัฒนาในนาซีเยอรมนีและถูกใช้อย่างกว้างขวางโดยฝ่ายอักษะในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

เอ็มเพ 40
มาสชีนเนินพิสโทเลอ 40
ชนิดปืนกลมือ
แหล่งกำเนิดนาซีเยอรมนี
บทบาท
ประจำการ1938–ปัจจุบัน
ผู้ใช้งานSee Operators
สงคราม
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบHeinrich Vollmer
ช่วงการออกแบบ1938
บริษัทผู้ผลิต
ช่วงการผลิต1940–1945
จำนวนที่ผลิต1.1 ล้าน (โดยประมาณ)
แบบอื่น
  • MP 36
  • MP 38
  • MP 40
  • MP 40/1
  • MP 41
ข้อมูลจำเพาะ
มวล3.97 kg (8.75 lb)[2][3]
ความยาว833 mm (32.8 in) stock extended / 630 mm (24.8 in) stock folded[4]
ความยาวลำกล้อง251 mm (9.9 in)[4]

กระสุน9×19mm Parabellum[4]
การทำงานStraight blowback, open bolt[3]
อัตราการยิง500 rounds/min[4]
ความเร็วปากกระบอก400 m/s (1,312 ft/s)[4]
ระยะหวังผล100 – 200 m[3]
พิสัยไกลสุด200 m[3]
ระบบป้อนกระสุน32-round detachable box magazine 64-round with dual magazines[3]
ศูนย์เล็งHooded front blade

ถูกออกแบบในปี 1938 โดยไฮน์ริช ฟอลเมอร์ (Heinrich Vollmer) ด้วยแรงบันดาลใจมาจากต้นแบบของปืนมาซชีนพิสทูเลอ 38,มันถูกใช้งานอย่างหนักโดยทหารราบ,พลทหารโดดร่ม,หมวดทหารและผู้นำหมู่ทหารในแนวรบตะวันตกและตะวันออก ด้วยคุณสมบัติและความทันสมัยขั้นสูงของมันทำให้เป็นที่ชื่นชอบในหมู่ทหารและเป็นที่นิยมในประเทศจากทั่วทุกมุมโลกหลังสงคราม มันก็มักไม่สมควรที่จะเรียกว่า "ชไมเซอร์"โดยฝ่ายสัมพันธมิตร แม้ว่า Hugo Schmeisser จะไม่มีส่วนร่วมในในการออกแบบอาวุธและผลิต จากปี 1940-1945 มันถูกผลิตประมาณ 1.1 ล้านกระบอกโดย Erma Werke

ผู้ใช้งาน แก้

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การสู้รบต่อต้านนาซีและทหารสัมพันธมิตรบางคนได้ยึดปืนเอ็นเพ 40 มาเปลี่ยนเป็นปืนของตนเอง

ปืนเอ็นเพ 40 ถูกใช้งานมาเป็นเวลาหลายทศวรรษที่ผ่านมาหลังสงครามโลกครั้งที่สองโดยหลายประเทศทั่วโลกในความขัดแย้งทางอาวุธ เอ็นเพ 40 จะพบได้จากการใช้งานของพวกกองโจร เช่น เวียดกง หรือการรบแบบกองโจรของแอฟริกา[5][6]

หมายเหตุ แก้

  1. Used in the 1948 Arab–Israeli War and afterwards by Unit 101 until replaced by the Uzi.[5]

อ้างอิง แก้

  1. Medal Net.
  2. Hogg 2001, p. 16.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 Fowler 2005, p. 98.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 Myatt & Ridefort 1992, p. 107.
  5. 5.0 5.1 5.2 Katz 1988, p. 9.
  6. World Guns.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 7.5 de Quesada 2014, p. 66.
  8. de Quesada 2016, p. 44.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 9.4 9.5 9.6 9.7 de Quesada 2014, p. 77.
  10. de Quesada 2016, p. 67.
  11. de Quesada 2017, p. 65.
  12. de Quesada 2018, p. 88.
  13. Tibor, Rada (2001). "Német gyalogsági fegyverek magyar kézben" [German infantry weapons in Hungarian hands]. A Magyar Királyi Honvéd Ludovika Akadémia és a Testvérintézetek Összefoglalt Története (1830-1945) (ภาษาฮังการี). Vol. II. Budapest: Gálos Nyomdász Kft. p. 1114. ISBN 963-85764-3-X.
  14. Katz 2019, p. 12.
  15. Katz 2019, p. 10.
  16. 16.0 16.1 de Quesada 2014, p. 78.
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Jowett
  18. de Quesada 2020, p. 98.
  19. de Quesada 2014, p. 20.
  20. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Dutch
  21. de Quesada 2014, p. 56.
  22. de Quesada 2014, p. 23.
  23. Sakaida, Henry (May 20, 2003). Hook, Christa (บ.ก.). Heroines of the Soviet Union 1941-45. Bloomsbury Publishing. p. 59. ISBN 1841765988.
  24. Cornish, Nik (June 20, 2014). Karachtchouk, Andrei (บ.ก.). Soviet Partisan 1941-45. Bloomsbury Publishing. p. 29. ISBN 9781472801456.
  25. Anthony G. Williams (2012). Sub-Machine Gun: The Development of Sub-Machine Guns and their Ammunition from World War 1 to the Present Day. The Crowood Press UK. p. 15. ISBN 1847972934.
  26. 26.0 26.1 de Quesada 2014, p. 64.
  27. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ROC
  28. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Arnold2022
  29. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Capie
  30. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Bishop