สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์

สถานีรถไฟเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์ เป็นสถานีรถไฟหลักของกัวลาลัมเปอร์ เมืองหลวงของประเทศมาเลเซีย เปิดทำการเมื่อ 16 เมษายน ค.ศ. 2001 เพื่อใช้งานแทนสถานีรถไฟกัวลาลัมเปอร์แห่งเก่า สถานีเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์เคยเป็นสถานีรถไฟที่ใหญ่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[1]

เซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์
KL Sentral logo
การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งระบบรางและศูนย์การขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
KL Sentral CBD
KL Sentral exterior
Link to Muzium Negara station
KL Sentral councorse
Link to KL Monorail
จากบน จากซ้ายไปขวา:
ย่านซีบีดีเคแอลเซ็นทรัล, ภายนอกสถานี, เชื่อมต่อสถานีพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติมาเลเซีย, ผู้ใช้บริการในสถานี, เชื่อมต่อเคแอลโมโนเรล ผ่านห้าง Nu Sentral
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งบริกฟิลด์, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
พิกัด3°08′03″N 101°41′11″E / 3.1343°N 101.6864°E / 3.1343; 101.6864
เจ้าของMRCB
ผู้ให้บริการ
สายสายชายฝั่งทะเลตะวันตก
ชานชาลา2 ชานชาลาเกาะกลาง (สายบาตูเคฟส์–ปูเลาเซอบัง, สายตันจุงมาลิม–พอร์ตกลัง และ สายเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์–เทอมินัล สกายพาร์ก)
1 ชานชาลาเกาะกลาง (เคทีเอ็ม อีทีเอส)
2 ชานชาลาด้านข้าง (สายเกอลานาจายา)
2 ชานชาลาด้านข้าง (เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส)
1 ชานชาลาเกาะกลาง (เคแอลไอเอ แทรนซิต)
ราง4 (สายบาตูเคฟส์–ปูเลาเซอบัง, สายตันจุงมาลิม–พอร์ตกลัง และ สายเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์–เทอมินัล สกายพาร์ก)
2 (เคทีเอ็ม อีทีเอส)
3 (รถไฟสินค้า)
2 (สายเกอลานาจายา)
2 (เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส)
2 (เคแอลไอเอ แทรนซิต)
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างส่วนใหญ่ระดับดิน
ยกระดับ (สายเกอลานาจายา)
ที่จอดรถมีค่าจอด
ทางเข้าออกสำหรับผู้พิการให้บริการ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานี KA01   KS01   KJ15   KE1   KT1 
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า การรถไฟมาลายา
(รถไฟชานเมือง)
สถานีต่อไป
กัวลาลัมเปอร์
มุ่งหน้า บาตูเคฟส์
สายบาตูเคฟส์–ปูเลาเซอบัง มิดวัลเลย์
กัวลาลัมเปอร์
มุ่งหน้า ตันจุงมาลิม
สายตันจุงมาลิม–พอร์ตกลัง Abdullah Hukum
มุ่งหน้า พอร์ตกลัง
สถานีปลายทาง สายเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์–เทอมินัล สกายพาร์ก สุบังจายา
สถานีก่อนหน้า การรถไฟมาลายา (อีทีเอส) สถานีต่อไป
กัวลาลัมเปอร์
มุ่งหน้า อีโปะฮ์
เซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์–อีโปะฮ์ (โกลด์) สถานีปลายทาง
เคทีเอ็ม อีทีเอสเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์–อีโปะฮ์ (ซิลเวอร์)
กัวลาลัมเปอร์
มุ่งหน้า ปาดังเบซาร์
เซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์–ปาดังเบซาร์ (แพลทินัม)
กัวลาลัมเปอร์ เคทีเอ็ม อีทีเอสเซ็นทรัลกัวลาลัมเปอร์–บัตเตอร์เวิร์ท (แพลทินัม)
บัตเตอร์เวิร์ท–เกอมัส (โกลด์) บันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน
มุ่งหน้า เกอมัส
กัวลาลัมเปอร์
มุ่งหน้า ปาดังเบซาร์
ปาดังเบซาร์–เกอมัส (โกลด์)
สถานีก่อนหน้า สถานีต่อไป
Pasar Seni
มุ่งหน้า กมบัก
สายเกอลานาจายา บังซาร์
มุ่งหน้า ปุตราไฮท์
สถานีก่อนหน้า เอ็กซ์เพรสเรลลิงก์ สถานีต่อไป
สถานีปลายทาง เคแอลไอเอ แทรนซิต บันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน
มุ่งหน้า เคแอลไอเอ 2
เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส เคแอลไอเอ
มุ่งหน้า เคแอลไอเอ 2

ศูนย์การขนส่ง แก้

สถานีเซ็นทรัล (มลายู: Stesen Sentral) เป็นชื่อของโซน H ซึ่งได้รับการกำหนดให้เป็นศูนย์กลางการขนส่งภายในโครงการพัฒนาเคแอลเซ็นทรัล แต่การเรียกสถานีทั้งเส้นทางขนส่งสาธารณะและเส้นทางเชื่อมต่อจะเรียกว่า "เคแอลเซ็นทรัล"

สถานีเซ็นทรัลได้รับการออกแบบเพื่อรองรับเครือข่ายการขนส่งทางราง 6 ระบบ แล้วเสร็จเมื่อธันวาคม ค.ศ. 2000 และได้เริ่มให้บริการการขนส่งทางราง การค้าปลีก และบริการร้านอาหารและเครื่องดื่มเมื่อเมษายน ค.ศ. 2001 อาคารหลักตั้งอยู่บนพื้นที่ 38,000 ตารางเมตร (410,000 ตารางฟุต) รายละเอียดอิงตามการคาดการณ์ผู้โดยสารจนถึง ค.ศ. 2020 ซึ่งเป็นช่วงที่มาเลเซียตั้งเป้าที่จะเป็นประเทศพัฒนาแล้วอย่างสมบูรณ์

ค.ศ. 2008 สถานีเซ็นทรัลมีการลงทะเบียนผู้โดยสารมากกว่า 100,000 คนต่อวัน ซึ่งคิดเป็น 36.5 ล้านคนต่อปี

สถานีมีที่จอดรถสำหรับผู้มาเยือนและผู้ที่ทำงานในบริเวณเคแอลเซ็นทรัล

บริการขบวนรถไฟ แก้

สถานีเคแอลเซ็นทรัลให้บริการขบวนรถดังต่อไปนี้

เชื่อมต่อบริการขบวนรถไฟ แก้

สายต่อไปนี้มีสถานีที่อยู่บริเวณใกล้เคียงเคแอลเซ็นทรัลคอมเพล็กซ์

แผนผังสถานี แก้

L4 ที่จอดรถ
L3 ชานชาลารางเบา
ชานชาลาด้านข้าง
ชานชาลา 1 5 สายเกอลานาจายา มุ่งหน้า  KJ1  กมบัก (Pasar Seni)
ชานชาลา 2 5 สายเกอลานาจายา มุ่งหน้า  KJ37  ปุตราไฮท์ (บังซาร์)
ชานชาลาด้านข้าง
รูบี้ เลานจ์ ห้องรับรองสำหรับผู้โดยสารชั้นธุรกิจขบวนอีทีเอส
L2 ทางเข้า/ออก ถนนสถานีเซ็นทรัล (ฝั่งเหนือ), ฮิลตัน กัวลาลัมเปอร์, เลอเมอริเดียน กัวลาลัมเปอร์, ป้ายรถโดยสารประจำทาง
L2 จุดเปลี่ยนสาย เชื่อมต่อ ชานชาลา 1, 2 สำหรับสาย  อีทีเอส  และ 10 สกายพาร์กลิงก์ (ถูกระงับ), เคาน์เตอร์จำหน่ายตั๋วขบวนอีทีเอส, เคาน์เตอร์จำหน่ายตั๋วสกายพาร์กลิงก์
L1 L1 จุดเปลี่ยนสาย เชื่อมต่อ 1 2 รถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม, 5 สายเกอลานาจายา และ 7 ชานชาลาเคแอลไอเอ แทรนซิต
อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานในเมือง เชื่อมต่อ 6 เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส และ 9 สายกาจัง (พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ)
ทางเข้า/ออก NU Sentral (เชื่อมต่อ 8 เคแอลโมโนเรล), ถนนสถานีเซ็นทรัล (ผ่าน อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานในเมือง)
G ชานชาลาเคทีเอ็มบี
ชานชาลา 1  อีทีเอส  รถไฟเคทีเอ็ม อีทีเอส

10 สกายพาร์กลิงก์ มุ่งหน้า เทอร์มินัลสกายพาร์ก (ขบวนถูกระงับ)

ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 2  อีทีเอส  รถไฟเคทีเอ็ม อีทีเอส

10 สกายพาร์กลิงก์ มุ่งหน้า เทอร์มินัลสกายพาร์ก (ขบวนถูกระงับ)

ชานชาลา 3 1 รถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม มุ่งหน้า บาตูเคฟส์ (กัวลาลัมเปอร์)
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 4 2 รถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม มุ่งหน้า ตันจุงมาลิม (กัวลาลัมเปอร์)
ชานชาลา 5 2 รถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม มุ่งหน้า พอร์ตกลัง (Abdullah Hukum)
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 6 1 รถไฟชานเมืองเคทีเอ็ม มุ่งหน้า ปูเลาเซอบัง/ตัมปิน (มิดวัลเลย์)
ชานชาลาอีอาร์แอล
ชานชาลาด้านข้าง
ชานชาลา 1 6 เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส ชานชาลาขาออก
ชานชาลา 2 7 เคแอลไอเอ แทรนซิต มุ่งหน้า เคแอลไอเอ 2 (บันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน)
ชานชาลาเกาะกลาง
ชานชาลา 3 7 เคแอลไอเอ แทรนซิต มุ่งหน้า เคแอลไอเอ 2 (บันดาร์ตาซิก์เซอลาตัน)
ชานชาลา 4 6 เคแอลไอเอ เอ็กซ์เพรส มุ่งหน้า เคแอลไอเอ 2 (เคแอลไอเอ 1)
ชานชาลาด้านข้าง
อาคารรถโดยสารประจำทาง มุ่งหน้า เก็นติ้งไฮแลนด์ และท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

สถานีเชื่อมต่อ แก้

สถานีเคแอลโมโนเรล เคแอลเซ็นทรัล แก้

 MR1  เคแอลเซ็นทรัล
  | สถานีรถไฟฟ้าโมโนเรล
 
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนจาลันตุนซัมบัน บริกฟิลด์ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
เจ้าของPrasarana Malaysia
ผู้ให้บริการแรพิดเรล
สาย8 เคแอลโมโนเรล
ชานชาลา1 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานี MR1 
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ31 สิงหาคม 2003; 20 ปีก่อน (2003-08-31)
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า   สถานีต่อไป
สถานีปลายทาง เคแอลโมโนเรล ตุนสัมบันทัน
มุ่งหน้า ตีตีวังซา

สถานีเคแอลโมโนเรล เคแอลเซ็นทรัล ตั้งอยู่ที่ถนนจาลันตุนซัมบัน บริกฟิลด์ ด้านหลังห้างสรรพสินค้า NU Sentral เป็นสถานีปลายทาง สำหรับรถไฟฟ้าสายเคแอลโมโนเรล เชื่อมต่อโดยตรงกับ NU Sentral ซึ่งช่วยให้สามารถเดินระหว่างสถานีเซ็นทรัลและสถานีโมโนเรลได้อย่างต่อเนื่อง

สถานีพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ แก้

เนื่องจากข้อจำกัดด้านพื้นที่จึงไม่สามารถสร้างสถานีรถไฟฟ้าในพื้นที่สถานีเซ็นทรัลได้ จึงต้องสร้างสถานีรถไฟฟ้าที่ด้านหน้าพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ที่อยู่ใกล้เคียงเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกับสถานีเซ็นทรัลได้ สถานีเปิดเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2017 สามารถเชื่อมต่ออาคารหลักของสถานีเซ็นทรัลผ่านทางเดินยกระดับ

สถานีขนส่งผู้โดยสารเคแอลเซ็นทรัล แก้

นอกจากนี้สถานีเคแอลเซ็นทรัล ยังถูกสร้างให้เป็นศูนย์กลางรถโดยสารประจำเมืองโดย Rapid KL ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงเครือข่ายรถโดยสารประจำทาง เป็นศูนย์กลางรถโดยสารประจำทางสำหรับเส้นทางรถรับส่งในเมืองและรถโดยสารทางไกล

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. http://www.tbsbts.com.my/travellers/kl-sentral
  2. "KL Sentral LRT station renamed KL Sentral redONE". The Star. Kuala Lumpur. สืบค้นเมื่อ 30 May 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้