ยุคอีดีแอคารัน
ยุคอีดีแอคารัน (อังกฤษ: Ediacaran) หรือ ยุคเวนเดียน เป็นยุคสุดท้ายแห่งมหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก อยู่ระหว่าง 630 ล้านปีมาแล้วถึง 542 ล้านปีมาแล้ว ยุคนี้มีสัตว์แปลก ๆ มากมาย เช่น ดิกคินโซเนีย ซึ่งมีลักษณะเหมือนพรมเช็ดเท้าฟู ๆ กินอาหารโดยใช้การย่อยเมือกแบคทีเรียใต้ทะเล แล้วดูดซับสารอาหาร อีกตัวหนึ่งก็คือสไปรกินา มีลักษณะยาว ดูดซับเมือกแบคทีเรียเหมือนดิกคินโซเนีย บนแผ่นดินยังว่างเปล่า
ยุคอีดีแอคารัน | ||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
~635 – 541.0 ± 1.0 ล้านปีก่อน | ||||||||||||||||||||||||||
แผนที่โลกในช่วงกลางยุคอีดีแอคารัน (600 ล้านปีก่อน) | ||||||||||||||||||||||||||
วิทยาการลำดับเวลา | ||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||
นิรุกติศาสตร์ | ||||||||||||||||||||||||||
ความเป็นทางการของชื่อ | ทางการ | |||||||||||||||||||||||||
อนุมัติชื่อ | 2533 | |||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลการใช้ | ||||||||||||||||||||||||||
เทห์วัตถุ | โลก | |||||||||||||||||||||||||
การใช้ระดับภาค | ทั่วโลก (ICS) | |||||||||||||||||||||||||
การใช้ช่วงเวลา | ธรณีกาลของ ICS | |||||||||||||||||||||||||
การนิยาม | ||||||||||||||||||||||||||
หน่วยวิทยาการลำดับเวลา | ยุค | |||||||||||||||||||||||||
หน่วยลำดับชั้นหิน | หินยุค | |||||||||||||||||||||||||
ความเป็นทางการของช่วงกาล | ทางการ | |||||||||||||||||||||||||
คำนิยามขอบล่าง |
| |||||||||||||||||||||||||
ขอบล่าง GSSP | แหล่งเอโนรามาครีก เทือกเขาฟลินเดอร์ รัฐเซาท์ออสเตรเลีย 31°19′53″S 138°38′00″E / 31.3314°S 138.6334°E | |||||||||||||||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | มีนาคม 2547[1] | |||||||||||||||||||||||||
คำนิยามขอบบน | การปรากฏของซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย Treptichnus pedum | |||||||||||||||||||||||||
ขอบบน GSSP | แหล่งฟอร์จูนเฮด รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา 47°04′34″N 55°49′52″W / 47.0762°N 55.8310°W | |||||||||||||||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 2535[2] | |||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ | ||||||||||||||||||||||||||
ปริมาณ O 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 8 % โดยปริมาตร (40 % ของปัจจุบัน) | |||||||||||||||||||||||||
ปริมาณ CO 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 4500 ppm (16 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม) | |||||||||||||||||||||||||
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย | ประมาณ 17 °C (สูงกว่าปัจจุบัน 3 °C) |
อ้างอิง
แก้- ↑ Knoll, Andrew H.; Walter, Malcolm R.; Narbonne, Guy M.; Christie-Black, Nicholas (3 March 2006). "The Ediacaran Period: a new addition to the geologic time scale" (PDF). Lethaia. 39: 13–30. doi:10.1080/00241160500409223. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
- ↑ Brasier, Martin; Cowie, John; Taylor, Michael. "Decision on the Precambrian-Cambrian boundary stratotype" (PDF). Episodes. 17. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.