มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก
มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก (อังกฤษ: Neoproterozoic) ต่อจากมหายุคมีโซโพรเทอโรโซอิกและก่อนหน้ามหายุคพาลีโอโซอิกอยู่ในบรมยุคโพรเทอโรโซอิกยุคนี้อยู่ระหว่าง1,000ล้านปีมาแล้วถึง542ล้านปีมาแล้ว ในมหายุคนี้ประกอบด้วย 3 ยุค คือ ยุคโทเนียน,ยุคไครโอจีเนียน,ยุคอีดีแอคารัน สิ่งมีชีวิตอยู่ในทะเล เป็นสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์และสัตว์ยุคแรกสุด ซึ่งต้นมหายุคนี้มีสัตว์หลายเซลล์,โพรทิสตา,โครมาลวีโอตา พวกนี้เป็นส่วนมาก กลางมหายุคมีนำแข็งปกคลุมทั่วโลก ซึ่งเราเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์โลกบอลหิมะ(Snowball earth). ช่วงปลายยุคชีวิตเริ่มมีวงเวียนแห่งชีวิตมากขึ้น สัตว์ที่มองเห็นได้เกิดขึ้นในยุคนี้ แล้วโลกจึงไม่ได้ว่างเปล่าอีกต่อไปแล้ว เราเรียกยุคนี้ว่ายุคอีดีแอคารัน(Ediacaran period)ซึ่งช่วงต้นยุคถึงกลางยุค มหาทวีปแพนโนเทีย ได้เกิดขึ้นในมหายุคนี้
มหายุคนีโอโพรเทอโรโซอิก | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
1000 – 541.0 ± 1.0 ล้านปีก่อน | ||||||
วิทยาการลำดับเวลา | ||||||
| ||||||
การเสนอคำนิยามใหม่ | 850–541 Ma Gradstein et al., 2012 | |||||
การเสนอการแบ่งย่อย | ยุคไครโอเจเนียน, 850–630 Ma Gradstein et al., 2012 | |||||
นิรุกติศาสตร์ | ||||||
ความเป็นทางการของชื่อ | ทางการ | |||||
ข้อมูลการใช้ | ||||||
เทห์วัตถุ | โลก | |||||
การใช้ระดับภาค | ทั่วโลก (ICS) | |||||
การใช้ช่วงเวลา | ธรณีกาลของ ICS | |||||
การนิยาม | ||||||
หน่วยวิทยาการลำดับเวลา | มหายุค | |||||
หน่วยลำดับชั้นหิน | หินมหายุค | |||||
ความเป็นทางการของช่วงกาล | ทางการ | |||||
คำนิยามขอบล่าง | กำหนดตามลำดับเวลา | |||||
ขอบล่าง GSSP | N/A | |||||
การอนุมัติ GSSP | N/A | |||||
คำนิยามขอบบน | การปรากฏของซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย Treptichnus pedum | |||||
ขอบบน GSSP | แหล่งฟอร์จูนเฮด รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา 47°04′34″N 55°49′52″W / 47.0762°N 55.8310°W | |||||
การอนุมัติ GSSP | 1992 | |||||
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ | ||||||
ปริมาณ O 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 6 % โดยปริมาตร (30 % ของปัจจุบัน) | |||||
ปริมาณ CO 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 4750 ppm (17 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม) | |||||
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย | ประมาณ 22 °C (สูงกว่าปัจจุบัน 8 °C) |