ยุคแคมเบรียน
ยุคแคมเบรียน (อังกฤษ: Cambrian) เป็นธรณีกาลยุคแรกของมหายุคพาลีโอโซอิก อยู่ในช่วง 542 ± 0.3 ล้านปีมาแล้วถึง 488.3 ± 1.7 ล้านปีมาแล้ว ก่อนจะเข้าสู่ยุคออร์โดวิเชียน คำว่าแคมเบรียนตั้งโดย อดัม ซิดก์วิค (Adam Sedgwick) เป็นชื่อโรมันของเวลส์ซึ่งเป็นสถานที่ที่พบหินยุคแคมเบรียนดีที่สุดของอังกฤษ[5]
ยุคแคมเบรียน | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
541.0 ± 1.0 – 485.4 ± 1.9 ล้านปีก่อน | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
วิทยาการลำดับเวลา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
นิรุกติศาสตร์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความเป็นทางการของชื่อ | ทางการ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลการใช้ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เทห์วัตถุ | โลก | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การใช้ระดับภาค | ทั่วโลก (ICS) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การใช้ช่วงเวลา | ธรณีกาลของ ICS | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การนิยาม | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยวิทยาการลำดับเวลา | ยุค | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
หน่วยลำดับชั้นหิน | หินยุค | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เสนอครั้งแรกโดย | Adam Sedgwick, 1835 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ความเป็นทางการของช่วงกาล | ทางการ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยามขอบล่าง | การปรากฏของซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย Treptichnus pedum | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ขอบล่าง GSSP | แหล่งฟอร์จูนเฮด รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา 47°04′34″N 55°49′52″W / 47.0762°N 55.8310°W | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 1992[2] | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
คำนิยามขอบบน | การปรากฏระดับอ้างอิงครั้งแรกของโคโนดอนต์ Iapetognathus fluctivagus. | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ขอบบน GSSP | แหล่งกรีนพอยท์ กรีนพอยท์ รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา 49°40′58″N 57°57′55″W / 49.6829°N 57.9653°W | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
การอนุมัติ GSSP | 2000[3] | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปริมาณ O 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 12.5 % โดยปริมาตร (63 % ของปัจจุบัน) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ปริมาณ CO 2 เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ | ประมาณ 4500 ppm (16 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ย | ประมาณ 21 °C (สูงกว่าปัจจุบัน 7 °C) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ระดับน้ำทะเลสูงกว่าปัจจุบัน | เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 4 เมตร เป็น 90 เมตร[4] |
ยุคแคมเบรียนเป็นช่วงสำคัญของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตบนโลก ก่อนยุคแคมเบรียน สิ่งมีชีวิตนั้นมีขนาดเล็กและเรียบง่าย ก่อนจะค่อยๆเป็นองค์ประกอบซับซ้อนในอีกล้านปีถัดมาก่อนหน้ายุคแคมเบรียน[6] รูปแบบของสิ่งมีชีวิตมีความหลากหลายและเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นการ “ระเบิด” ทางชีวภาพ ที่จู่ๆสิ่งมีชีวิตก็เกิดอุบัติมาพร้อมๆกันในช่วงเวลาเดียวกัน ปรากฏการณ์ดังกล่าวเรียกว่า Cambrian explosion หรือ Biological Big Bang สิ่งมีชีวิตที่บังเกิดขึ้นมีหน้าตาก็ล้วนแปลกประหลาดอัศจรรย์ทั้งสิ้น เป็นสิ่งมีชีวิตไม่มีกระดูกสันหลังอาศัยอยู่ในทะเล เช่น ไทรโลไบต์ เป็นต้น พืชส่วนใหญ่เป็นสาหร่ายสีเขียว ในยุคนี้ไม่พบสิ่งมีชีวิตบนพื้นดิน
อ้างอิง
แก้- ↑ "Chart/Time Scale". www.stratigraphy.org. International Commission on Stratigraphy.
- ↑ Brasier, Martin; Cowie, John; Taylor, Michael. "Decision on the Precambrian-Cambrian boundary stratotype" (PDF). Episodes. 17. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
- ↑ Cooper, Roger; Nowlan, Godfrey; Williams, S. H. (March 2001). "Global Stratotype Section and Point for base of the Ordovician System" (PDF). Episodes. 24 (1): 19–28. doi:10.18814/epiiugs/2001/v24i1/005. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
- ↑ Haq, B. U.; Schutter, SR (2008). "A Chronology of Paleozoic Sea-Level Changes". Science. 322 (5898): 64–8. Bibcode:2008Sci...322...64H. doi:10.1126/science.1161648. PMID 18832639. S2CID 206514545.
- ↑ Sedgwick, A. (1852). "On the classification and nomenclature of the Lower Paleozoic rocks of England and Wales". Q. J. Geol. Soc. Land. 8: 136–138.
- ↑ Butterfield, N. J. (2007). "Macroevolution And Macroecology Through Deep Time". Palaeontology 50 (1) : 41–55.
- Amthor, J. E.; Grotzinger, John P.; Schröder, Stefan; Bowring, Samuel A.; Ramezani, Jahandar; Martin, Mark W.; Matter, Albert (2003). "Extinction of Cloudina and Namacalathus at the Precambrian-Cambrian boundary in Oman". Geology. 31: 431–434. doi:10.1130/0091-7613(2003)031<0431:EOCANA>2.0.CO;2.
- Ogg, Jim; June, 2004, Overview of Global Boundary Stratotype Sections and Points (GSSPs) http://www.stratigraphy.org/gssp.htm Accessed April 30, 2006.
- Gould, Stephen Jay; Wonderful Life: the Burgess Shale and the Nature of Life (New York: Norton, 1989)
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Biostratigraphy เก็บถาวร 2021-02-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - includes information on Cambrian trilobite biostratigraphy
- Dr. Sam Gon's trilobite pages (contains numerous Cambrian trilobites)
- Examples of Cambrian Fossils
- Paleomap Project
- Report on the web on Amthor and others from Geology vol. 31 เก็บถาวร 2003-08-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Weird Life on the Mats เก็บถาวร 2009-06-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ก่อนหน้า บรมยุคโพรเทอโรโซอิก |
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก 541 Ma - ปัจจุบัน | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
มหายุคพาลีโอโซอิก 541 Ma - 252 Ma |
มหายุคมีโซโซอิก 252 Ma - 66 Ma |
มหายุคซีโนโซอิก 66 Ma - ปัจจุบัน | ||||||||||
แคมเบรียน | ออร์โดวิเชียน | ไซลูเรียน | ดีโวเนียน | คาร์บอนิเฟอรัส | เพอร์เมียน | ไทรแอสซิก | จูแรสซิก | ครีเทเชียส | พาลีโอจีน | นีโอจีน | ควอเทอร์นารี |