ยุคออร์โดวิเชียน

(เปลี่ยนทางจาก Ordovician)

ยุคออร์โดวิเชียน (อังกฤษ: Ordovician) เป็นธรณีกาลยุคที่สองของมหายุคพาลีโอโซอิก อยู่ระหว่าง 488.3±1.7 ล้านปีมาแล้ว ถึง 443.7±1.5 ล้านปีมาแล้ว[9] และอยู่ระหว่างยุคแคมเบรียนและยุคไซลูเรียน. ชาร์ลส์ แลปวอร์ธเป็นผู้ตั้งชื่อยุค โดยตั้งชื่อตาม ออร์โดไวซ์ ซึ่งเป็นชื่อชนเผ่าในเซลติก ในยุคออร์โดวิเชียนมีสิ่งมีชีวิตมากมาย เช่น ออสทราโคเดิร์ม ซึ่งเป็นปลาชนิดแรก และในช่วงปลายยุค สิ่งมีชีวิตบางส่วนเริ่มมีกระดูกสันหลังและเริ่มที่จะขึ้นมาอาศัยบนพื้นดิน ปลาในช่วงนี้ไม่มีขากรรไกร

ยุคออร์โดวิเชียน
485.4 ± 1.9 – 443.8 ± 1.5 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อทางการ
อนุมัติชื่อ1960
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลายุค
หน่วยลำดับชั้นหินหินยุค
เสนอครั้งแรกโดยCharles Lapworth, 1879
ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการ
คำนิยามขอบล่างการปรากฏระดับอ้างอิงครั้งแรกของโคโนดอนต์ Iapetognathus fluctivagus
ขอบล่าง GSSPแหล่งกรีนพอยท์ กรีนพอยท์ รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์ ประเทศแคนาดา
49°40′58″N 57°57′55″W / 49.6829°N 57.9653°W / 49.6829; -57.9653
การอนุมัติ GSSP2000[5]
คำนิยามขอบบนการปรากฏระดับอ้างอิงครั้งแรกของแกรฟโตไลต์ Akidograptus ascensus
ขอบบน GSSPด็อบส์ลินน์ โมเฟด สหราชอาณาจักร
55°26′24″N 3°16′12″W / 55.4400°N 3.2700°W / 55.4400; -3.2700
การอนุมัติ GSSP1984[6][7]
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ
ปริมาณ O
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 13.5 % โดยปริมาตร
(68 % ของปัจจุบัน)
ปริมาณ CO
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 4200 ppm
(15 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม)
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 16 °C
(สูงกว่าปัจจุบัน 2 °C)
ระดับน้ำทะเลสูงกว่าปัจจุบัน180 เมตร; สูงขึ้นถึง 220 เมตรในคาราด็อกและลดลงอย่างรวดเร็วเหลือ 140 เมตรในช่วงปลายการเปลี่ยนสภาพโดยธารน้ำแข็งออร์โดวิเชียน[8]

อ้างอิง แก้

  1. Wellman, C.H.; Gray, J. (2000). "The microfossil record of early land plants". Phil. Trans. R. Soc. B. 355 (1398): 717–732. doi:10.1098/rstb.2000.0612. PMC 1692785. PMID 10905606.
  2. Korochantseva, Ekaterina; Trieloff, Mario; Lorenz, Cyrill; Buykin, Alexey; Ivanova, Marina; Schwarz, Winfried; Hopp, Jens; Jessberger, Elmar (2007). "L-chondrite asteroid breakup tied to Ordovician meteorite shower by multiple isochron 40 Ar- 39 Ar dating". Meteoritics & Planetary Science. 42 (1): 113–130. Bibcode:2007M&PS...42..113K. doi:10.1111/j.1945-5100.2007.tb00221.x.
  3. Lindskog, A.; Costa, M. M.; Rasmussen, C.M.Ø.; Connelly, J. N.; Eriksson, M. E. (2017-01-24). "Refined Ordovician timescale reveals no link between asteroid breakup and biodiversification". Nature Communications (ภาษาอังกฤษ). 8: 14066. doi:10.1038/ncomms14066. ISSN 2041-1723. PMC 5286199. PMID 28117834. It has been suggested that the Middle Ordovician meteorite bombardment played a crucial role in the Great Ordovician Biodiversification Event, but this study shows that the two phenomena were unrelated
  4. "Chart/Time Scale". www.stratigraphy.org. International Commission on Stratigraphy.
  5. Cooper, Roger; Nowlan, Godfrey; Williams, S. H. (March 2001). "Global Stratotype Section and Point for base of the Ordovician System" (PDF). Episodes. 24 (1): 19–28. doi:10.18814/epiiugs/2001/v24i1/005. สืบค้นเมื่อ 6 December 2020.
  6. Lucas, Sepncer (6 November 2018). "The GSSP Method of Chronostratigraphy: A Critical Review". Frontiers in Earth Science. 6: 191. Bibcode:2018FrEaS...6..191L. doi:10.3389/feart.2018.00191.
  7. Holland, C. (June 1985). "Series and Stages of the Silurian System" (PDF). Episodes. 8 (2): 101–103. doi:10.18814/epiiugs/1985/v8i2/005. สืบค้นเมื่อ 11 December 2020.
  8. Haq, B. U.; Schutter, SR (2008). "A Chronology of Paleozoic Sea-Level Changes". Science. 322 (5898): 64–68. Bibcode:2008Sci...322...64H. doi:10.1126/science.1161648. PMID 18832639. S2CID 206514545.
  9. "International Chronostratigraphic Chart v.2015/01" (PDF). International Commission on Stratigraphy. January 2015.


ก่อนหน้า
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก
541 Ma - ปัจจุบัน
มหายุคพาลีโอโซอิก
541 Ma - 252 Ma
มหายุคมีโซโซอิก
252 Ma - 66 Ma
มหายุคซีโนโซอิก
66 Ma - ปัจจุบัน
แคมเบรียน ออร์โดวิเชียน ไซลูเรียน ดีโวเนียน คาร์บอนิเฟอรัส เพอร์เมียน ไทรแอสซิก จูแรสซิก ครีเทเชียส พาลีโอจีน นีโอจีน ควอเทอร์นารี