พ.ศ. 2026
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1483)
พุทธศักราช 2026 ใกล้เคียงกับ
- เมษายน ค.ศ. 1483 - มีนาคม ค.ศ. 1484
- ค.ศ. 1483 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน
- ค.ศ. 1484 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน
- มหาศักราช 1405
- ปีเถาะ เบญจศก จุลศักราช 845 (วันที่ 30 มีนาคม เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2026 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1483 MCDLXXXIII |
Ab urbe condita | 2236 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 932 ԹՎ ՋԼԲ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6233 |
ปฏิทินบาไฮ | −361 – −360 |
ปฏิทินเบงกอล | 890 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2433 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 22 Edw. 4 – 1 Ric. 3 |
พุทธศักราช | 2027 |
ปฏิทินพม่า | 845 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 6991–6992 |
ปฏิทินจีน | 壬寅年 (ขาลธาตุน้ำ) 4179 หรือ 4119 — ถึง — 癸卯年 (เถาะธาตุน้ำ) 4180 หรือ 4120 |
ปฏิทินคอปติก | 1199–1200 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 2649 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1475–1476 |
ปฏิทินฮีบรู | 5243–5244 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1539–1540 |
- ศกสมวัต | 1405–1406 |
- กลียุค | 4584–4585 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11483 |
ปฏิทินอิกโบ | 483–484 |
ปฏิทินอิหร่าน | 861–862 |
ปฏิทินอิสลาม | 887–888 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | Bunmei 15 (文明15年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | 1483 MCDLXXXIII |
ปฏิทินเกาหลี | 3816 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 429 ก่อน ROC 民前429年 |
ผู้นำ
แก้- อาณาจักรอยุธยา : สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031)
- อาณาจักรล้านนา : พระเจ้าติโลกราช (พ.ศ. 1984-2030)
สำหรับผู้นำประเทศอื่น ๆ ดู รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2026
เหตุการณ์
แก้- 1 มกราคม – ชาวยิวถูกขับออกจากแคว้นอันดาลูซีอา
- 11 กุมภาพันธ์ – สถาปนา General Council of the Inquisition ขึ้นในประเทศสเปน
- 9 เมษายน – เอ็ดเวิร์ดที่ 5 ขึ้นครองเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษ
- 29 เมษายน – ราชอาณาจักรกัสติยาเข้าพิชิตกรันกานาเรีย เกาหลักในหมู่เกาะกานาเรียส ถือเป็นก้าวสำคัญมากต่อการขยายดินแดนของสเปน
- 30 เมษายน – ตามการคำนวณวงโคจรสมัยใหม่ ดาวพลูโตย้ายเข้าในวงโคจรของดาวยูเรนัสจนกระทั่งวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1503
- 13 มิถุนายน – วิลเลียม เฮสติงส์ บารอนเฮสติงส์ที่ 1 ถูกประหารชีวิต เป็นการประหารชีวิตที่มีการบันทึกครั้งแรกในหอคอยลอนดอน
- 25 มิถุนายน – ก่อนพิธีราชาภิเษก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษถูกถอดถอนโดยพระปิตุลา ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ ภายหลังกลายเป็น พระเจ้าริชาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ
- 6 กรกฎาคม – ริชาร์ดที่ 3 กับแอนน์ เนวิลล์ ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์และพระราชินีอังกฤษ ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์[1]
- 20 กรกฎาคม – พระเจ้าฮันส์แห่งเดนมาร์กขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์นอร์เวย์
- 15 สิงหาคม – เปิดตัวโบสถ์น้อยซิสทีนในพระราชวังพระสันตะปาปาที่โรม
- 3 กันยายน – เจ้าชายในหอคอย นั่นคือ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 แห่งอังกฤษตอนพระชนมายุ 12 พรรษา กับริชาร์ด ดยุกแห่งยอร์กที่มีพระชนมายุ 10 พรรษา อาจถูกปลงพระชนม์ในคืนนี้ที่หอคอยลอนดอน[2]
- 29 ตุลาคม – ยุทธการที่อูนา: กองกำลังของราชอาณาจักรโครเอเชียเอาชนะกองทัพจักรวรรดิออตโตมัน
ไม่ทราบวันที่
แก้- เจ้าชายแห่งมอสโกสร้างป้อมปราการอีวันโกรอด หัวหน้าเข้าหานาร์วา
- โจวันนี เบลลีนีได้รับการแต่งตั้งเป็นจิตรกรประจำราชการแห่งสาธารณรัฐเวนิส
- ฟลาวิโอ บิออนโดตีพิมพ์ Historiarum ab inclinatione romanorum imperii.
วันเกิด
แก้- 14 กุมภาพันธ์ – ซาฮีร์-อุด-ดิน มูฮัมมัด บาบูร์ ชาฮ์ ผู้ก่อตั้งราชวงศ์โมกุล (พระราชสมภพ ค.ศ. 1530)
- 6 เมษายน - ราฟาเอล จิตรกรและสถาปนิกชาวอิตาลี (เสียชีวิต ค.ศ. 1520)[3]
- 19 เมษายน - ปาโอโล โจวีโอ บิชอปชาวอิตาลี (เสียชีวิต ค.ศ. 1552)
- 20 กรกฎาคม – หวัง เกิ่น นักประชญาชาวจีน (เสียชีวิต ค.ศ. 1541)
- 10 พฤศจิกายน - มาร์ติน ลูเทอร์ นักบวชและนักปฏิรูปโปรเตสแตนต์ชาวเยอรมัน ผู้ก่อตั้งนิกายลูเทอรัน (เสียชีวิต ค.ศ. 1546)[4]
วันถึงแก่กรรม
แก้- 9 เมษายน - สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ (พระราชสมภพ ค.ศ. 1442)[5]
- 6 พฤษภาคม - พระนางช็องฮี (พระราชสมภพ ค.ศ. 1418)
- 13 มิถุนายน – วิลเลียม เฮสติงส์ บารอนเฮสติงส์ที่ 1 (ประหารชีวิต; ประสูติ ค.ศ. 1431)
- 30 สิงหาคม – พระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส (พระราชสมภพ ค.ศ. 1423)[6]
- 1 ธันวาคม - ชาร์ล็อตต์แห่งซาวอย สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส (เกิด ค.ศ. 1443)
- ไม่ทราบวัน
- เอ็ดมันด์ ซัตตัน ขุนนางชาวอังกฤษ (เกิด ค.ศ. 1425)
- เอลีเซอ เอสกิลส์โดตเตร์ ขุนนางและโจรสลัดหญิงชาวนอร์เวย์
อ้างอิง
แก้- ↑ "Anne Neville, wife of Richard III". Westminster Abbey (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 8 October 2022.
- ↑ Weir, Alison. The Princes in the Tower. p. 157.
- ↑ Alexander Langkals (2004). Raphael (ภาษาอังกฤษ). Prestel. p. 6. ISBN 978-3-7913-3199-7.
- ↑ John D. Woodbridge; David F. Wright (2005). The Baker History of the Church (ภาษาอังกฤษ). Baker Books. p. 70. ISBN 978-0-8010-1277-8.
- ↑ Charles Phillips (2006). The Complete Illustrated Encyclopedia of the Kings & Queens of Britain (ภาษาอังกฤษ). Hermes House. p. 86. ISBN 978-0-681-45961-8.
- ↑ David Potter (13 February 2003). War and Government in the French Provinces (ภาษาอังกฤษ). Cambridge University Press. p. 41. ISBN 978-0-521-89300-8.