อีวีเอแอร์
(เปลี่ยนทางจาก อีวีเอแอร์คาร์โก)
อีวีเอแอร์ (จีน: 長榮航空; พินอิน: Chángróng Hángkōng; อังกฤษ: EVA Air อ่านว่า "อี-วี-เอ-แอร์")[4] เป็นสายการบินสัญชาติไต้หวัน บริหารงานโดยเอเวอร์กรีนกรุ๊ป ซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจขนส่งขนาดใหญ่ของไต้หวัน ให้บริการเที่ยวบินโดยสาร และเที่ยวบินขนส่งสินค้าในชื่อ อีวีเอแอร์ คาร์โก จากท่าอากาศยานหลักที่ไต้หวันเถาหยวน นอกจากนี้ยังมีสายการบินลูก ยูนิแอร์ ให้บริการเส้นทางท้องถิ่น และมีสายการบินอย่างไชน่าแอร์ไลน์เป็นคู่แข่งสำคัญ
![]() | |||||||
| |||||||
ก่อตั้ง | 8 มีนาคม พ.ศ. 2532 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มดำเนินงาน | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 | ||||||
ท่าหลัก | ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน | ||||||
เมืองสำคัญ | |||||||
สะสมไมล์ | อินฟินิตี้ ไมลิจแลนด์ | ||||||
พันธมิตรการบิน | สตาร์อัลไลแอนซ์[1][2] | ||||||
บริษัทลูก | ยูนิแอร์ | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 86 | ||||||
จุดหมาย | 62[3] | ||||||
บริษัทแม่ | เอเวอร์กรีนกรุป | ||||||
การซื้อขาย | TSE: 2618 | ||||||
สำนักงานใหญ่ | ![]() | ||||||
บุคลากรหลัก | |||||||
พนักงาน | 11,147 (2018)[3] | ||||||
เว็บไซต์ | www |

ฝูงบิน แก้
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ฝูงบินของสายการบินอีวีเอแอร์ประกอบด้วยเครื่องบินดังต่อไปนี้[5]
เครื่องบิน | ประจำการ | สั่งซื้อ | ตัวเลือก | ความจุผู้โดยสาร | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
J | Q | Y | Total | |||||
เอทีอาร์ 72-600 | 2 | - | - | - | - | 70 | 70 | สำหรับสายการบินยูนิแอร์ |
แอร์บัส เอ 321-211 | 22 | - | - | 8 | — | 176 | 184 | |
แอร์บัส เอ 330-203 | 3 | — | - | 24 | — | 228 | 252 | — |
แอร์บัส เอ 330-300 | 9 | — | - | 30 | — | 279 | 309 | — |
โบอิง 777-300ER | 34 | - | - | 38 38 39 |
63 63 56 |
211 221 238 |
313 323 333 |
|
โบอิง 787-9 ดรีมไลเนอร์ | 2 | 2 | - | 26 | - | 278 | 304 | |
โบอิง 787-10 ดรีมไลเนอร์ | - | 20 | 6 | 34 | - | 308 | 342 | |
EVA Air Cargo Fleet | ||||||||
โบอิง 747-400F | 2 | - | - | 124,330 กก. (274,100 ปอนด์) | - | |||
โบอิง 777F | 4 | 1 | - | 145,150 กก. (320,000 ปอนด์) | - | |||
รวม | 78 | 23 | 6 |
จุดหมายปลายทาง แก้
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อีวีเอแอร์ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 3 แห่งในประเทศ และ 64 แห่งใน 17 ประเทศใน 4 ทวีป[6] ดังนี้
ฐานการบินหลัก | |
เมืองสำคัญ | |
ให้บริการโดย Uni Air | |
ขนส่งเฉพาะสินค้าเท่านั่น | |
ขนส่งทั้งผู้โดยสารและสินค้า |
เมือง | ประเทศ | IATA | ICAO | ท่าอากาศยาน |
---|---|---|---|---|
อัมสเตอร์ดัม | เนเธอร์แลนด์ | AMS | EHAM | ท่าอากาศยานนานาชาติสคิปโฮล |
แอนคอเรก | สหรัฐ | ANC | PANC | ท่าอากาศยานนานาชาติเท็ดสตีเฟนส์แอนคอเรก |
อะซะฮิกะวะ | ญี่ปุ่น | AKJ | RJEC | ท่าอากาศยานนานาชาติอะซะฮิกะวะ |
แอตแลนตา | สหรัฐ | ATL | KATL | ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา |
กรุงเทพ | ไทย | BKK | VTBS | ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ |
ปักกิ่ง | จีน | PEK | ZBAA | ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง |
บริสเบน | ออสเตรเลีย | BNE | YBBN | ท่าอากาศยานนานาชาติบริสเบน |
เซบู | ฟิลิปปินส์ | CEB | RPVM | ท่าอากาศยานแมคแทน-เซบู |
ฉางชา | จีน | CSX | ZGHA | ท่าอากาศยานนานาชาติฉางชาฮังกัว |
แหล่งข้อมูลอื่น แก้
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ อีวีเอแอร์
อ้างอิง แก้
- ↑ "EVA Airways to join Star Alliance this week". Australian Business Traveller. 27 March 2012.
- ↑ "EVA Air to join Star Alliance in June". Focus Taiwan. Central News Agency. 20 April 2013. สืบค้นเมื่อ 24 April 2013.
- ↑ 3.0 3.1 "Company Profile". EVA Airways.
- ↑ "เกี่ยวกับสายการบินอีวีเอแอร์ - EVA Air | ประเทศไทย"
- ↑ "เครื่องบินของเราและผังที่นั่งบนเครื่อง". EVA Airways Corporation. 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-02-16.
- ↑ "Route Maps". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-11. สืบค้นเมื่อ 2016-10-19.