อักษรกวิ
อักษรกวิ (กะ-วิ)[a] หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อักษรชวาเก่า เป็นอักษรพราหมี โดยหลักพบในเกาะชวาและใช้งานทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทรระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 16[2] อักษรนี้เป็นอักษรสระประกอบ มีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรที่ใช้หยุดเสียงสระและเป็นตัวแทนของพยัญชนะบริสุทธิ์ หรือไว้แทนรูปสระอื่น[3][4] ทางภาคใต้ของไทยมีหลักฐานว่าเคยใช้อักษรนี้แต่ไม่แพร่หลายมากนัก ก่อนจะเปลี่ยนมาใช้อักษรไทยและอักษรขอม อักษรกวิไม่มีบ่าอักษรเช่นเดียวกับอักษรมอญโบราณ
อักษรกวิ 𑼒𑼮𑼶 | |
---|---|
'กวิ' ในแบบอักษรกวิมาตรฐานใหม่ | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ป. คริสต์ศตวรรษที่ 8–16 |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | บาหลีเก่า, ชวาเก่า, ซุนดาเก่า, มลายูเก่า, สันสกฤต |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบลูก | ในอินโดนีเซีย: อักษรบาหลี อักษรบาตัก อักษรชวา อักษรลนตารา อักษรซุนดา อักษรเรินจง อักษรเรอจัง อักษรบูดา ในฟิลิปปินส์: กลุ่มอักษรไบบายิน |
ระบบพี่น้อง | เขมร, จาม, มอญเก่า, ครันถะ, ทมิฬ |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Kawi (368), Kawi |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Kawi |
ช่วงยูนิโคด | U+11F00–U+11F5F |
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพามหียังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล. | |
ยูนิโคด
แก้มีการบรรจุอักษรกวิลงในยูนิโคดมาตรฐานรุ่นที่ 15.0 ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2022 ตามข้อเสนอของ Aditya Bayu Perdana และ Ilham Nurwansah[5][6][2] Anshuman Pandey ได้ส่งข้อเสนอเบื้องต้นก่อนหน้าไปยังคณะกรรมการด้านเทคนิคของยูนิโคดใน ค.ศ. 2012[1]
บล็อกยูนิโคดของอักษรกวิอยู่ที่ U+11F00–U+11F5F และมีอักษรถึง 86 ตัวอักษร:
กวิ[1][2] Official Unicode Consortium code chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+11F0x | 𑼀 | 𑼁 | 𑼂 | 𑼃 | 𑼄 | 𑼅 | 𑼆 | 𑼇 | 𑼈 | 𑼉 | 𑼊 | 𑼋 | 𑼌 | 𑼍 | 𑼎 | 𑼏 |
U+11F1x | 𑼐 | 𑼒 | 𑼓 | 𑼔 | 𑼕 | 𑼖 | 𑼗 | 𑼘 | 𑼙 | 𑼚 | 𑼛 | 𑼜 | 𑼝 | 𑼞 | 𑼟 | |
U+11F2x | 𑼠 | 𑼡 | 𑼢 | 𑼣 | 𑼤 | 𑼥 | 𑼦 | 𑼧 | 𑼨 | 𑼩 | 𑼪 | 𑼫 | 𑼬 | 𑼭 | 𑼮 | 𑼯 |
U+11F3x | 𑼰 | 𑼱 | 𑼲 | 𑼳 | 𑼴 | 𑼵 | 𑼶 | 𑼷 | 𑼸 | 𑼹 | 𑼺 | 𑼾 | 𑼿 | |||
U+11F4x | 𑽀 | 𑽁 | 𑽂 | 𑽃 | 𑽄 | 𑽅 | 𑽆 | 𑽇 | 𑽈 | 𑽉 | 𑽊 | 𑽋 | 𑽌 | 𑽍 | 𑽎 | 𑽏 |
U+11F5x | 𑽐 | 𑽑 | 𑽒 | 𑽓 | 𑽔 | 𑽕 | 𑽖 | 𑽗 | 𑽘 | 𑽙 | ||||||
หมายเหตุ
|
ระบบลูก
แก้พยัญชนะ
แก้ka | kha | ga | gha | nga | ca | cha | ja | jha | nya | ṭa | ṭha | ḍa | ḍha | ṇa | ta | tha | da | dha | na | pa | pha | ba | bha | ma | ya | ra | la | wa | śa | ṣa | sa | ha/a | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
กวิ | 𑼒 | 𑼓 | 𑼔 | 𑼕 | 𑼖 | 𑼗 | 𑼘 | 𑼙 | 𑼚 | 𑼛 | 𑼜 | 𑼝 | 𑼞 | 𑼟 | 𑼠 | 𑼡 | 𑼢 | 𑼣 | 𑼤 | 𑼥 | 𑼦 | 𑼧 | 𑼨 | 𑼩 | 𑼪 | 𑼫 | 𑼬 | 𑼭 | 𑼮 | 𑼯 | 𑼰 | 𑼱 | 𑼲 |
Kaganga | |||||||||||||||||||||||||||||||||
บาตัก (กาโร) | ᯂ | ᯎ | ᯝ | ᯡ | ᯐ | ᯗ | ᯑ | ᯉ | ᯇ | ᯅ | ᯔ | ᯛ | ᯒ | ᯞ | ᯋ | ᯘ | ᯀ | ||||||||||||||||
บาตัก (มันไดลิง) | ᯄ᯦ | ᯎ | ᯝ | ᯚ᯦ | ᯐ | ᯠ | ᯖ | ᯑ | ᯉ | ᯇ | ᯅ | ᯔ | ᯛ | ᯒ | ᯞ | ᯋ | ᯚ | ᯂ | |||||||||||||||
บาตัก (ปักปัก-ไดรี) | ᯂ | ᯎ | ᯝ | ᯘ | ᯐ | ᯗ | ᯑ | ᯉ | ᯇ | ᯅ | ᯔ | ᯛ | ᯒ | ᯞ | ᯍ | ᯘ | ᯂ | ||||||||||||||||
บาตัก (ซีมาลูงุน) | ᯃ | ᯏ | ᯝ | ᯐ | ᯠ | ᯖ | ᯑ | ᯉ | ᯈ | ᯅ | ᯕ | ᯜ | ᯓ | ᯞ | ᯌ | ᯙ | ᯃ | ||||||||||||||||
บาตัก (โตบา) | ᯃ | ᯎ | ᯝ | ᯐ | ᯠ | ᯖ | ᯑ | ᯉ | ᯇ | ᯅ | ᯔ | ᯛ | ᯒ | ᯞ | ᯍ | ᯘ | ᯃ | ||||||||||||||||
ไบบายิน | |||||||||||||||||||||||||||||||||
บูฮิด | ᝃ | ᝄ | ᝅ | ᝆ | ᝇ | ᝈ | ᝉ | ᝊ | ᝋ | ᝌ | ᝍ | ᝎ | ᝏ | ᝐ | ᝑ | ||||||||||||||||||
ฮานูโนโอ | ᜣ | ᜤ | ᜥ | ᜦ | ᜧ | ᜨ | ᜨ | ᜪ | ᜫ | ᜬ | ᜭ | ᜮ | ᜯ | ᜰ | ᜰ | ||||||||||||||||||
ลนตารา | ᨀ | ᨁ | ᨂ | ᨌ | ᨍ | ᨎ | ᨈ | ᨉ | ᨊ | ᨄ | ᨅ | ᨆ | ᨐ | ᨑ | ᨒ | ᨓ | ᨔ | ᨖ/ᨕ | |||||||||||||||
เรอจัง | ꤰ | ꤱ | ꤲ | ꤹ | ꤺ | ꤻ | ꤻ | ꤴ | ꤵ | ꤶ | ꤷ | ꤸ | ꤿ | ꤽ | ꤾ | ꥀ | ꤼ | ꥁ | |||||||||||||||
เรินจง | ꤰ | ꤱ | ꤲ | ꤹ | ꤺ | ꤻ | ꤳ | ꤴ | ꤵ | ꤶ | ꤷ | ꤸ | ꤿ | ꤽ | ꤾ | ꥀ | ꤼ | ꥁ | |||||||||||||||
ซุนดา | ᮊ | ᮌ | ᮍ | ᮎ | ᮏ | ᮑ | ᮒ | ᮓ | ᮔ | ᮕ | ᮘ | ᮙ | ᮚ | ᮛ | ᮜ | ᮝ | ᮞ | ᮠ | |||||||||||||||
ฮานาจารากา | |||||||||||||||||||||||||||||||||
ชวา | ꦏ | ꦑ | ꦒ | ꦓ | ꦔ | ꦕ | ꦖ | ꦗ | ꦙ | ꦚ | ꦛ | ꦜ | ꦝ | ꦞ | ꦟ | ꦠ | ꦡ | ꦢ | ꦣ | ꦤ | ꦥ | ꦦ | ꦧ | ꦨ | ꦩ | ꦪ | ꦫ | ꦭ | ꦮ | ꦯ | ꦰ | ꦱ | ꦲ |
บาหลี | ᬓ | ᬔ | ᬕ | ᬖ | ᬗ | ᬘ | ᬙ | ᬚ | ᬛ | ᬜ | ᬝ | ᬞ | ᬟ | ᬠ | ᬡ | ᬢ | ᬣ | ᬤ | ᬥ | ᬦ | ᬧ | ᬨ | ᬩ | ᬪ | ᬫ | ᬬ | ᬭ | ᬮ | ᬯ | ᬰ | ᬱ | ᬲ | ᬳ |
ภาพ
แก้ตารางข้างบนเป็นช่องเปรียบเทียบการพัฒนาของอักษรเทวนาครีในอักษรกวิ มอญเก่าแห่งอาณาจักรอังวะ และอักษรไทย
หมายเหตุ
แก้- ↑ จากสันสกฤต: कवि "kavi" แปลว่า "กวี";[1] อินโดนีเซีย: Aksara Kawi หรือ Aksara Carakan Kuna
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Anshuman Pandey 2012. Preliminary Proposal to Encode the Kawi Script
- ↑ 2.0 2.1 Aditya Bayu Perdana and Ilham Nurwansah 2020. Proposal to encode Kawi
- ↑ De Casparis, J. G. Indonesian Palaeography: A History of Writing in Indonesia from the beginnings to c. AD 1500, Leiden/Koln, 1975, pp. 35-42 with footnotes
- ↑ Briggs, Lawrence Palmer (1950). "The Origin of the Sailendra Dynasty: Present Status of the Question". Journal of the American Oriental Society. JSTOR. 70 (2): 78–82. doi:10.2307/595536. ISSN 0003-0279. JSTOR 595536.
- ↑ "Unicode® 15.0.0". Unicode Consortium. 2022-09-13. สืบค้นเมื่อ 2022-09-13.
- ↑ Unicode Technical Committee 2021. Approved Minutes of UTC Meeting 166
- Omniglot. Kawi alphabet. Retrieved 16 May 2019
- Tiongson, Jaime F., (2008). Laguna copperplate inscription: a new interpretation using early Tagalog dictionaries. Bayang Pinagpala. Retrieved January 14, 2012.