สหรัฐเบลเยียม
สหรัฐเบลเยียม (อังกฤษ: United States of Belgium, ดัตช์: Verenigde Nederlandse Staten or Verenigde Belgische Staten) เป็นสมาพันธ์สาธารณรัฐในเนเธอร์แลนด์ใต้ (เบลเยียมและลักเซมเบิร์กในปัจจุบัน) ซึ่งก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการปฏิวัติบราบันต์ ซึ่งเป็นประเทศได้ในระยะเวลาอันสั้นตั้งแต่มกราคมจนถึงธันวาคม ค.ศ. 1790 อันเนื่องมาจากการล้มเหลวต่อการแข็งข้อกับจักรพรรดิโยเซ็ฟที่ 2
สหรัฐเบลเยียม Verenigde Nederlandsche Staten Verenigde Belgische Staten États-Belgiques-Unis | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1790 | |||||||||
อาณาเขตของสหรัฐเบลเยียมในปีค.ศ. 1790 | |||||||||
สถานะ | รัฐที่ไม่ได้รับการยอมรับเมืองขึ้นของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ | ||||||||
เมืองหลวง | บรัสเซลส์ | ||||||||
ภาษาทั่วไป | ดัตช์, ฝรั่งเศส | ||||||||
ศาสนา | โรมันคาทอลิก | ||||||||
การปกครอง | สาธารณรัฐแบบสมาพันธรัฐ | ||||||||
ประธานาธิบดี | |||||||||
• 1790 | ฟร็องซัว เดอ เนลี | ||||||||
• 1790 | อ็องรี เดอ ครุมปิเปน[1] | ||||||||
นายกรัฐมนตรี | |||||||||
• 1790 | อ็องรี แวน เดอร์ นูท | ||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภาคองเกรส | ||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | การปฏิวัติบราบันต์ | ||||||||
24 ตุลาคม 1789 | |||||||||
11 มกราคม 1790 | |||||||||
22 กันยายน 1790 | |||||||||
• การจำนนที่บรัสเซลส์ | 2 ธันวาคม 1790 | ||||||||
| |||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | เบลเยียม ลักเซมเบิร์ก |
ประวัติศาสตร์ของกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ
| ||||
---|---|---|---|---|
ราชอาณาจักรแฟรงก์ (คริสต์ศตวรรษที่ 5-10) |
ฟริเซีย (600-734) | |||
จักรวรรดิการอแล็งเฌียง หลังปี 800 | ||||
แฟรงก์ตะวันตก (ฝรั่งเศส) | อาณาจักรแฟรงก์กลาง (โลทาริงเกีย) (843–870) | |||
แฟลนเดอส์และโลทาริงเกียในอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก (870–880) | ||||
แฟลนเดอส์ (862–1384) และรัฐอื่นๆ (คริสต์ ศตวรรษ ที่ 10–14) |
ราชอาณาจักรโลทาริงเกีย (ต่อมาเป็นดัชชี) ในแฟรงก์ตะวันออก (เยอรมนี) (880-1190) | |||
บิชอปแห่ง ลีแยฌ (980-1794) ดัชชีบูลียง (988-1795) แอบบีย์ สตาวีลอต -มาลเมดีย์ (1138-1795) |
ดัชชีบราบันต์ (1183-1430) และรัฐอื่นๆ (คริสต์ศตวรรษ ที่ 10–15) |
เคาน์ตี/ ดัชชี ลักเซมเบิร์ก (963–1443) |
เคาน์ตีฮอลแลนด์ (880-1432) และรัฐอื่นๆ (คริสต์ศตวรรษ ที่ 10–15) | |
เนเธอร์แลนด์ของเบอร์กันดี (1384–1477) | ||||
เนเธอร์แลนด์ของฮาพส์บวร์ค (กลุ่มสิบเจ็ดมณฑล) (1482–1556) | ||||
เนเธอร์แลนด์ของสเปน (เนเธอร์แลนด์ตอนใต้) (1556–1714) |
สาธารณรัฐดัตช์ (1581–1795) | |||
เนเธอร์แลนด์ของออสเตรีย (เนเธอร์แลนด์ตอนใต้) (1714–1795) | ||||
การปฏิวัติลีแยฌ (1789–1792) |
สหรัฐเบลเยียม (1790) |
|||
ตกเป็นส่วนหนึ่งของ สาธารณรัฐฝรั่งเศส (1795–1804) และ จักรวรรดิฝรั่งเศส (1804–1815) |
สาธารณรัฐ บาตาเวีย (1795–1806) | |||
ราชอาณาจักร ฮอลแลนด์ (1806–1810) | ||||
สหราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ (1815-1830) | ||||
ราชอาณาจักรเบลเยียม (ตั้งแต่ 1830) |
แกรนด์ดัชชี ลักเซมเบิร์ก (รัฐร่วมประมุข) |
ราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ (ตั้งแต่ 1830) | ||
แกรนด์ดัชชี ลักเซมเบิร์ก (ตั้งแต่ 1890) |
การเมือง
แก้สหรัฐเบลเยียมปกครองด้วยระบบสาธารณรัฐแบบสมาพันธ์รัฐประกอบไปด้วยมณฑลทั้งแปดซึ่งในแต่ละมณฑลล้วนมีรัฐบาลปกครองตนเองอันเป็นอิสระต่อกัน โดยมีสภาคองเกรส (ฝรั่งเศส: Congrès souverain; ดัตช์: Soevereine Congres) เป็นรัฐบาลกลาง ซึ่งตั้งอยู่ที่กรุงบรัสเซลส์ โดยมีผู้แทนของแต่ละมณฑลเป็นองค์ประกอบ ในมณฑลทั้งแปดจะถูกแบ่งเป็นเขตเล็กๆ จำนวน 11 เขต[2] ได้แก่
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Henri de Crumpipen
- ↑ "The Brabant Revolution of 1789–1790". World History at KMLA. สืบค้นเมื่อ 24 July 2013.