รายพระนามและชื่อชาวไทยที่ได้รับการฉลองวาระครบรอบโดยยูเนสโก
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
(เปลี่ยนทางจาก รายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก)
รายพระนามและชื่อชาวไทยที่ได้รับการฉลองวาระครบรอบวันเกิดหรือเสียชีวิต โดยองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก)
บุคคลที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นบุคคลสำคัญของโลก
แก้สัญลักษณ์ | |
|
พระมหากษัตริย์ |
|
พระบรมวงศานุวงศ์ |
|
พระสงฆ์ |
|
ขุนนาง |
|
ราชนิกุล |
|
นักเคลื่อนไหว |
|
ข้าราชการ |
|
สื่อมวลชน |
ลำดับ | รูป | ผู้ได้รับการฉลอง (ช่วงชีวิต) |
วันที่ฉลอง | ฉลองในวาระ |
---|---|---|---|---|
1 | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2405–2486) |
21 มิถุนายน พ.ศ. 2505 | 100 ปี วันประสูติ[1] | |
2 | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (พ.ศ. 2406–2490) |
28 เมษายน พ.ศ. 2506 | 100 ปี วันประสูติ[2] | |
3 | พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (พ.ศ. 2310–2367) |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 | 200 ปี วันพระบรมราชสมภพ[3] | |
4 | พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2423–2468) |
1 มกราคม พ.ศ. 2523 | 100 ปี วันพระบรมราชสมภพ[4] | |
5 | พระสุนทรโวหาร (ภู่) (พ.ศ. 2329–2398) |
26 มิถุนายน พ.ศ. 2529 | 200 ปี ชาตกาล[5] | |
6 | พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) (พ.ศ. 2431–2512) |
14 ธันวาคม พ.ศ. 2531 | 100 ปี ชาตกาล[6] | |
7 | สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (พ.ศ. 2333–2396) |
11 ธันวาคม พ.ศ. 2533 | 200 ปี วันประสูติ[7] | |
8 | พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (พ.ศ. 2434–2519) |
25 สิงหาคม พ.ศ. 2534 | 100 ปี วันประสูติ[8] | |
9 | สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (พ.ศ. 2435–2472) |
1 มกราคม พ.ศ. 2535 | 100 ปี วันพระราชสมภพ[9] | |
10 | พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (พ.ศ. 2470–2559) |
9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 | 50 ปี วันขึ้นครองสิริราชสมบัติ[10] | |
11 | ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) (พ.ศ. 2443–2526) |
11 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 | 100 ปี ชาตกาล[11] | |
12 | สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พ.ศ. 2443–2538) |
21 ตุลาคม พ.ศ. 2543 | 100 ปี วันพระราชสมภพ[12] | |
13 | พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2396–2453) |
20 กันยายน พ.ศ. 2546 | 150 ปี วันพระบรมราชสมภพ[13] | |
14 | หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (พ.ศ. 2446–2538) |
24 ตุลาคม พ.ศ. 2546 | 100 ปี ชาตกาล[14] | |
15 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2347–2411) |
18 ตุลาคม พ.ศ. 2547 | 200 ปี วันพระบรมราชสมภพ[15] | |
16 | กุหลาบ สายประดิษฐ์ (พ.ศ. 2448–2517) |
31 มีนาคม พ.ศ. 2548 | 100 ปี ชาตกาล[16] | |
17 | พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) (พ.ศ. 2449–2536) |
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 | 100 ปี ชาตกาล[17] | |
18 | พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท (พ.ศ. 2351–2414) |
19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 | 200 ปี วันประสูติ[18] | |
19 | เอื้อ สุนทรสนาน (พ.ศ. 2453–2524) |
21 มกราคม พ.ศ. 2553 | 100 ปี ชาตกาล[19] | |
20 | หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (พ.ศ. 2454–2538) |
20 เมษายน พ.ศ. 2554 | 100 ปี ชาตกาล[19] | |
21 | สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (พ.ศ. 2405–2498) |
10 กันยายน พ.ศ. 2555 | 150 ปี วันพระราชสมภพ[20] | |
22 | หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (พ.ศ. 2454–2525) |
13 ธันวาคม พ.ศ. 2555 | 100 ปี ชาตกาล[21] | |
23 | พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2436–2484) |
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 | 120 ปี วันพระบรมราชสมภพ[22][23] | |
24 | สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (พ.ศ. 2407–2462) |
1 มกราคม พ.ศ. 2557 | 150 ปี วันพระราชสมภพ[24][23] | |
25 | หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ณ อยุธยา (พ.ศ. 2458–2526) |
7 มิถุนายน พ.ศ. 2558 | 100 ปี ชาตกาล[25][23] | |
26 | ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (พ.ศ. 2459–2542) |
9 มีนาคม พ.ศ. 2559 | 100 ปี ชาตกาล[26] | |
27 | เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) (พ.ศ. 2410–2460) |
16 เมษายน พ.ศ. 2560 | 150 ปี ชาตกาล[27] | |
28 | กำพล วัชรพล (พ.ศ. 2462–2539) |
27 ธันวาคม พ.ศ. 2562 | 100 ปี ชาตกาล[28] | |
29 | พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (พ.ศ. 2413–2492) |
20 มกราคม พ.ศ. 2563 | 150 ปี ชาตกาล[29] | |
30 | สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (พ.ศ. 2403–2464) |
2 สิงหาคม พ.ศ. 2564 | 100 ปี วันสิ้นพระชนม์[30] | |
31 | พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) (พ.ศ. 2365–2434) |
5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 | 200 ปี ชาตกาล[31] | |
32 | สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (พ.ศ. 2466–2551) |
6 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 | 100 ปี วันประสูติ[32] |
บุคคลที่รับรองบัญชีรายชื่อเบื้องต้น
แก้ลำดับ | รูป | ผู้ได้รับการรับรอง (ช่วงชีวิต) |
วันที่ฉลอง | ฉลองในวาระ |
---|---|---|---|---|
1 | พระศรีวิชัย (อินท์เฟือน สีวิเชยฺย) (พ.ศ. 2421–2482) |
11 มิถุนายน พ.ศ. 2571 | 150 ปี ชาตกาล[33] |
บุคคลที่เคยเสนอชื่อบัญชีเบื้องต้น
แก้ลำดับ | รูป | ผู้ได้รับการเสนอ (ช่วงชีวิต) |
วันที่ฉลอง | ฉลองในวาระ | สาเหตุที่ไม่รับ |
---|---|---|---|---|---|
1 | ดิเรก ชัยนาม (พ.ศ. 2448–2510) |
18 มกราคม พ.ศ. 2548 | 100 ปี ชาตกาล[34] | เนื่องจากข้อเสนอของรัฐบาลไทยไม่เข้าข่ายที่จะได้รับการพิจารณา |
อ้างอิง
แก้- ↑ "UNESCO ยกย่อง "กรมพระยาดำรงราชานุภาพ" ให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-13. สืบค้นเมื่อ 2022-01-08.
- ↑ วธ. รำลึก ๑๕o ปี วันประสูติสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ บุคคลสำคัญของโลก[ลิงก์เสีย]
- ↑ "พระราชกรณีกิจ รัชกาลที่ ๒ "พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย" (บุคคลสำคัญของโลก)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-08. สืบค้นเมื่อ 2022-01-08.
- ↑ "มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ยูเนสโก)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-08. สืบค้นเมื่อ 2022-01-08.
- ↑ “สุนทรภู่” กวีเอกกรุงรัตนโกสินทร์ สามัญชนไทยคนแรกที่ยูเนสโกยกย่อง
- ↑ เสฐียรโกเศศ กับพรมแดนทางความรู้ “มนุษย์เป็นสัตว์การเมือง” (ยูเนสโก)
- ↑ จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส บุคคลสำ คัญของโลก…สู่จารึกวัดโพธิ์ มรดกความทรงจำ แห่งโลก
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง พระองค์วรรณ ภารกิจ “ประชาชาติ” บนความเปลี่ยนแปลง
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ 'ยูเนสโก' ถวายราชสดุดี 'ในหลวง ร.9' ยกย่องเป็นกษัตริย์นักพัฒนา
- ↑ ปรีดี พนมยงค์ : ครบรอบชาตกาล ตำนาน "บุคคลสำคัญของโลก"
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ กุหลาบ สายประดิษฐ์ (ศรีบูรพา) บุคคลดีเด่น UNESCO
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง "พุทธทาสภิกขุ" เป็นบุคคลสำคัญของโลก
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ 19.0 19.1 ยูเนสโกยกย่อง “ครูเอื้อ-คึกฤทธิ์” บุคคลสำคัญของโลก
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ” หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ ” คนไทยเป็นบุคคลสำคัญของโลกด้านการศึกษา
- ↑ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ บุคคลสำคัญของโลก ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖
- ↑ 23.0 23.1 23.2 ยูเนสโก ยกย่อง ร.7-พระศรีพัชรินทราฯ-หม่อมงามจิตต์ บุคคลสำคัญปี56
- ↑ ๑๐๐ ปี วันคล้ายวันสวรรคต สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี สมเด็จพระพันปีหลวง บุคคลสำคัญของโลก
- ↑ "หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร บุคคลสำคัญของโลก พ.ศ. ๒๕๕๘". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-26. สืบค้นเมื่อ 2022-02-16.
- ↑ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ : รำลึกบุคคลสำคัญของโลกของยูเนสโก ผู้ต้องลี้ภัยในต่างแดนหลัง 6 ต.ค. 2519
- ↑ ยูเนสโกยกย่อง ‘เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี’ บุคคลสำคัญของโลกปี59-60 ศธ.จัดใหญ่ฉลอง 150 ปีชาตกาล
- ↑ ยูเนสโก ยกย่อง “กำพล วัชรพล” เป็นบุคคลสำคัญของโลก
- ↑ ไทยเสนอ "ยูเนสโก" ยก "หลวงปู่มั่น" เป็นบุคคลสำคัญของโลก
- ↑ 'สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส' : บุคคลสำคัญของโลก ปี 2564
- ↑ "ยูเนสโก้ประกาศยกย่อง ปราชญ์ภาษาไทย 200 ปีชาตกาล พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) ให้เป็นบุคคลสำคัญของโลกในด้านการศึกษาและวัฒนธรรม ประจำปี พ.ศ. 2565". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-07-05. สืบค้นเมื่อ 2022-07-05.
- ↑ ครม.เสนอพระนาม "สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอฯ" ให้ยูเนสโกประกาศยกย่อง "บุคคลสำคัญของโลก"
- ↑ ขอเชิญร่วมเวทีการเสวนาเสนอชื่อ ครูบาเจ้าศรีวิชัย เป็นบุคคลสำคัญของโลกต่อยูเนสโก วาระ ๑๕๐ ปีชาตกาล
- ↑ ดิเรก ชัยนาม. อดีตของปัจจุบัน รวมปาฐกถาพิเศษว่าด้วยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2512, สำนักพิมพ์ศึกษิตสยาม, ตีพิมพ์ใหม่ โอเพ่นบุ๊คส์ เนื่องในโอกาส 100 ปี ชาตกาล, 2548. 191 หน้า. ISBN 974-93144-2-5