รายชื่อผู้ปกครองไต้หวัน
นี่คือรายชื่อผู้ปกครองที่มีอำนาจเหนือเกาะไต้หวัน
ฟอร์โมซาดัตช์และสเปน (1624–1662)
แก้ฟอร์โมซาของดัตช์ (1624–1662)
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (ตุลาคม 2564) |
ฟอร์โมซาของสเปน (1626–1642)
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (ตุลาคม 2564) |
อาณาจักรตงหนิง (1662–1683)
แก้กลุ่มผู้จงรักภักดีต่อราชวงศ์หมิงยึดครองไต้หวันนำโดยโคซิงงา, ขับไล่พวกดัตช์และยึดครองป้อมซีแลนเดียและสถาปนาอาณาจักรตงหนิง
อาณาจักรตงหนิง 【東寧王國】 | |||||
---|---|---|---|---|---|
No. | พระรูป | พระนาม (Birth–Death) |
ตำแหน่ง | รัชสมัย (จันทรคติ) | |
1 | โคซิงงา (เจิ้งเฉิงกง) 鄭成功 Zhèng Chénggōng (แมนดาริน) Tēⁿ Sêng-kong (ไต้หวัน) Chhang Sṳ̀n-kûng (ฮากกา) (1624–1662) |
เอี้ยนผิงหวัง (延平王) เจาอู่หวัง (潮武王) |
14 มิถุนายน 1661 Yongli 15-5-18 |
23 มิถุนายน 1662 Yongli 16-5-8 | |
2 | เจิ้งซี 鄭襲 Zhèng Xí (แมนดาริน) Tēⁿ Si̍p (ไต้หวัน) Chhang Si̍p (ฮากกา) (1625–?) |
ผู้พิทักษ์ (護理) | 23 มิถุนายน 1662 Yongli 16-5-8 |
พฤศจิกายน 1662 Yongli 17 | |
3 | เจิ้งจิง 鄭經 Zhèng Jīng (แมนดาริน) Tēⁿ Keng (ไต้หวัน) Chhang Kîn (ฮากกา) (1642–1681) |
เอี้ยนผิงหวัง (延平王) เจาเหวินหวัง (潮文王) |
พฤศจิกายน 1662 Yongli 17 |
17 มีนาคม 1681 Yongli 35-1-28 | |
4 | เจิ้งเค่อจาง 鄭克臧 Zhèng Kèzāng (แมนดาริน) Tēⁿ Khek-chong (ไต้หวัน) Chhang Khiet-chong (ฮากกา) (1662–1681) |
เจ้าชายผู้สำเร็จราชการ (監國) | 17 มีนาคม 1681 Yongli 35-1-28 |
19 มีนาคม 1681 Yongli 35-1-30 | |
5 | เจิ้งเค่อส่วง* 鄭克塽 Zhèng Kèshuǎng (แมนดาริน) Tēⁿ Khek-sóng (ไต้หวัน) Chhang Khiet-sóng (ฮากกา) (1670–1707) |
เอี้ยนผิงหวัง (延平王) ไห่เฉิงกง (海澄公) |
19 มีนาคม 1681 Yongli 35-1-30 |
5 กันยายน 1683 Yongli 37-8-13 |
* สำเร็จราชการโดย เฝิงซีฟ่าน ตั้งแต่ 1682 ถึง 1683.
ไต้หวันภายใต้ราชวงศ์ชิง (1683–1895)
แก้เขตไต้หวัน-เซี่ยเหมิน (1683–1721)
แก้ราชวงศ์ชิงผนวกไต้หวัน; ผู้ปกครองราชวงศ์หมิงยอมจำนนและถูกขับไล่
ข้าหลวงประจำเขตไต้หวัน-เซี่ยเหมิน (福建分巡台灣廈門道, 1687—1727)
แก้No. | ข้าหลวง | ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง |
---|
เขตไต้หวัน (1721–1885)
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ (ตุลาคม 2564) |
- ข้าหลวงฝ่ายทหารประจำมณฑลไต้หวัน (福建分巡臺灣兵備道, 1767-1791)
No. | ข้าหลวง | ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง |
---|
- Provincial Censor-ranked Taiwan Military Circuit Commissioner (按察使銜分巡台灣兵備道, 1791-1895)
No. | ข้าหลวง | ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง |
---|
ผู้ว่าการมณฑลฝูเจี้ยน-ไต้หวัน (1885–1895)
แก้มหาจักรวรรดิชิง 【大清】 | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
No. | รูป | ชื่อ (Birth–Death) |
ภูมิลำเนา | ตำแหน่ง | สมัย (Lunar calendar) |
จักรพรรดิ | |
1 | หลิวหมิงฉวน 劉銘傳 Liú Míngchuán (Mandarin) Lâu Bêng-thoân (Taiwanese) Liù Mèn-chhòn (Hakka) (1836–1896) |
เหอเฟย, อันฮุย | Governor of Fukien | 12 ตุลาคม 1885 Guangxu 11-9-5 |
4 มิถุนายน 1891 Guangxu 17-4-28 |
จักรพรรดิกวางสู | |
— | เสิ่นอิ้งกุ๋ย[1] 沈應奎 Shěn Yìngkuí (Mandarin) Tîm Èng-khe (Taiwanese) Chhṳ̀m En-khùi (Hakka) |
ผิงหู, เจ้อเจียง | Civil Affairs Minister, Fukien Province | 4 มิถุนายน 1891 Guangxu 17-4-28 |
25 พฤศจิกายน 1891 Guangxu 17-10-24 | ||
2 | เซ่าโหย่วเหลียน 邵友濂 Shào Yǒulián (Mandarin) Siō Iú-liâm (Taiwanese) Seu Yû-liàm (Hakka) (1840–1901) |
หยูเย่า, เจ้อเจียง | Governor of Hunan | 9 พฤศจิกายน 1891 Guangxu 17-4-2 |
13 ตุลาคม 1894 Guangxu 20-9-15 | ||
3 | ถังจิ่งซง 唐景崧 Táng Jǐngsōng (Mandarin) Tn̂g Kéng-siông (Taiwanese) Thòng Kín-chhiùng (Hakka) (1841–1903) |
ก้วนหยาง, กวางสี | Civil Affairs Minister, Fukien-Taiwan Province | 13 ตุลาคม 1894 Guangxu 20-9-15 |
20 พฤษภาคม 1895 Guangxu 21-4-26 |
สาธารณรัฐฟอร์โมซา (1895)
แก้สาธารณรัฐฟอร์โมซาเป็นสาธารณรัฐที่มีอายุสั้นซึ่งมีอยู่บนเกาะไต้หวัน ใน 1895 ระหว่างการแยกตัวอย่างเป็นทางการของไต้หวันโดย ราชวงศ์ชิงแห่งจีน ไปยังจักรวรรดิญี่ปุ่นโดย สนธิสัญญาชิโมโนเซกิและถูกกองทัพญี่ปุ่นยึดครอง สาธารณรัฐได้รับการสถาปนาวันที่ 23 พฟษภาคม 1895 และยุบเลิก 21 ตุลาคม, เมื่อไถหนาาน เมืองหลวงของสาธารณรัฐถูกยึดครองโดยญี่ปุ่น
สาธารณรัฐฟอร์โมซา【臺灣民主國】 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
No. | รูป | ชื่อ (Birth–Death) |
ภูมิลำเนา | สมัย | วัน | |
1 | ถังจิ่งซง
唐景崧 Táng Jǐngsōng (แมนดาริน) |
กุ้ยหลิน, กวางสี, ราชวงศ์ชิง | 20 พฤษภาคม 1895 | 5 มีนาคม 1895
Yongqing 1-6-5 |
13 | |
2 | หลิวหย่งฝู
劉永福 Liú Yǒngfú (แมนดาริน) |
ฉินโจว, กวางสี, ราชวงศ์ชิง | 5 มีนาคม 1895
Yongqing 1-6-5 |
21 ตุลาคม 1895
Yongqing 1-10-21 |
138 |
ไต้หวันภายใต้จักรวรรดิญี่ปุ่น (1895–1945)
แก้หลังการยึดครองไต้หวัน, ญี่ปุ่นใช้รูปแบบการบริหารงานอาณานิคมจากจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสในการใช้กำลังครอบครองและใช้เป็นเครื่องมือทางอุตสาหกรรมในเกาะ; พวกเขาสร้างการขนส่งระบบราง ระบบสุขาภิบาลและระบบการศึกษาโดยรัฐ, และอื่น ๆ. ราว 1935, ญี่ปุ่นเริ่มดำเนินมาตรการการกลืนกลายทางวัฒนธรรมเพื่อผูกเกาะกับอาณาจักรให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น
ผู้สำเร็จราชการแห่งไต้หวัน
แก้กองทัพ ริกเกนเซยูไก เคนเซไก ริกเกนมินเซโต
จักรวรรดิญี่ปุ่น 「大日本帝國」 | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
No. | รูป | ชื่อ | ภูมิลำเนา | อาชีพ | สังกัด | สมัย | จักรพรรดิ | |
1 | คาบายามะ สุเกโนริ 樺山資紀 |
คาโงชิมะ | พลเรือเอก | กองทัพ | 10 May 1895 | 2 June 1896 |
จักรพรรดิเมจิ | |
2 | คัตสึระ ทาโร 桂太郎 |
ยามะกุจิ | พลโท | กองทัพ | 2 June 1896 | 14 October 1896 | ||
3 | โนงิ มาเระสุเกะ 乃木希典 |
ยามะกุจิ | พลโท
(บารอน) |
กองทัพ | 14 October 1896 | 26 February 1898 | ||
4 | โคดามะ เกนทาโร่ 兒玉源太郎 |
ยามะกุจิ | พลโท
(บารอน) |
กองทัพ | 26 February 1898 | 11 April 1906 | ||
5 | ซากุมะ ซามาตะ 佐久間左馬太 |
ยามะกุจิ | พลเอก | กองทัพ | 11 April 1906 | 1 May 1915 | ||
จักรพรรดิไทโช | ||||||||
6 | อันโด เทบิ 安東貞美 |
นางาโนะ | พลเอก
(บารอน) |
กองทัพ | 1 May 1915 | 6 June 1918 | ||
7 | อากาชิ โมโตจิโร่ 明石元二郎 |
ฟุกุโอกะ | พลโท | กองทัพ | 6 June 1918 | 24 October 1919 | ||
8 | เดน เคนจิโร 田健治郎 |
เฮียวโง | สมาชิกในคณะรัฐมนตรีของเทระอุจิ (บารอน) | เซยูไก | 29 October 1919 | 6 September 1923 | ||
9 | อุจิดะ คาคิจิ 內田嘉吉 |
โตเกียว | สมาชิกสภาขุนนาง | เซยูไก | 6 September 1923 | 1 September 1924 | ||
10 | อิซาว่า ทากิโอะ 伊澤多喜男 |
นางาโนะ | สมาชิกสภาขุนนาง | เคนเซไก | 1 September 1924 | 16 July 1926 | ||
11 | คามิยาม่า มิทสุโนชิน 上山滿之進 |
ยามะกุจิ | นักประพันธ์วรรณกรรม | เคนเซไก | 16 July 1926 | 16 June 1928 | ||
จักรพรรดิโชวะ | ||||||||
12 | คาวามูระ ทาเกจิ 川村竹治 |
อากิตะ | สมาชิกสภาขุนนาง | เซยูไก | 16 June 1928 | 30 July 1929 | ||
13 | อิชิซูกะ เอโซ 石塚英藏 |
ฟุกุชิมะ | สมาชิกสภาขุนนาง | มินเซโต | 30 July 1929 | 16 January 1931 | ||
14 | โอตะ มาซาฮิโระ 太田政弘 |
ยามางาตะ | ผู้ว่าการแห่ง เขตเช่ากวางตุ้ง | มินเซโต | 16 January 1931 | 2 March 1932 | ||
15 | มินามิ ฮิโรชิ 南弘 |
โทยามะ | สมาชิกสภาขุนนาง | เซยูไก | 2 March 1932 | 26 May 1932 | ||
16 | นากางาวะ เคนโซ 中川健蔵 |
นีงาตะ | ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ | มินเซโต | 26 May 1932 | 2 September 1936 | ||
17 | เซโซ โคบายาชิ 小林躋造 |
ฮิโรชิม่า | พลเรือเอก | กองทัพ | 2 September 1936 | 27 November 1940 | ||
18 | ฮาเซกาว่า คิโยชิ 長谷川清 |
ฟูกุอิ | พลเรือเอก | กองทัพ | 27 November 1940 | 30 December 1944 | ||
19 | อันโด ริกิจิ 安藤利吉 |
มิยากิ | พลเอก | กองทัพ | 30 December 1944 | 25 October 1945 |
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (1945-)
แก้หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในค.ศ. 1945, ตามมาด้วยการยอมจำนนของญี่ปุ่น, การปกครองเกาะไต้หวันจึงตกเป็นของสาธารณรัฐจีน (ROC)
ภายหลังความพ่ายแพ้ของจีนคณะชาติในสงครามกลางเมืองจีนใน ค.ศ. 1949, นายกรัฐมนตรีเหยวียนซีซาน สถาปนารัฐบาลสาธารณรัฐจีนพลัดถิ่นที่ไต้หวัน (ที่มีมาจนถึงทุกวันนี้), ดังนั้นจึงมีการแทนที่จากผู้ว่าการมณฑลเป็นผู้บริหารระดับสูงในไต้หวันกระทั่งมีนาคม 1950, เมื่อเจียง ไคเชกกลับมาทำหน้าที่ประธานาธิบดี ณ ไทเป
ผู้ว่าการมณฑลไต้หวัน (1945–1949)
แก้สาธารณรัฐจีน (ROC)【中華民國】- ไต้หวัน | |||||
---|---|---|---|---|---|
No. | ภาพ | ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต) |
ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง | สังกัดพรรค | |
ประธานฝ่ายบริหารมณฑลไต้หวัน | |||||
1 | เฉิน อี๋ 陳儀 (1883-1950) |
29 สิงหาคม 1945 | 22 เมษายน 1947 | พรรคก๊กมินตั๋ง | |
ประธานคณะผู้บริหารมณฑลไต้หวัน | |||||
1 | เว่ย เต้าหมิง 魏道明 (1899-1978) |
16 พฤษภาคม 1947 | 5 มกราคม 1949 | พรรคก๊กมินตั๋ง | |
2 | เฉิน เฉิง 陳誠 (1897–1965) |
5 มกราคม 1949 | 8 ธันวาคม 1949 | พรรคก๊กมินตั๋ง |
หัวหน้าฝ่ายบริหารแห่งสาธารณรัฐจีน (1949–1950)
แก้Republic of China (ROC)【中華民國】- Taiwan | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
No. | ภาพ | ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต) |
ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง | สังกัดพรรค | ||||
30 | เหยวียนซีซาน閻錫山(1883–1960) | 8 ธันวาคม 1949 | 1 มีนาคม 1950 | พรรคก๊กมินตั๋ง |
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน
แก้สาธารณรัฐจีน (ROC)【中華民國】- ไต้หวัน | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
No. | ภาพ | ชื่อ
(เกิด–เสียชีวิต) |
ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง | สมัย | การเลือกตั้ง | สังกัดพรรค | รองประธานาธิบดี | |
ประธานาธิบดีที่ได้รับการเลือกตั้งโดยสมัชชาแห่งชาติ | ||||||||
1 | เจียง ไคเชก 蔣中正 (1887–1975) |
1 มีนาคม 1950 | 20 พฤษภาคม 1954 | 1 | — | พรรคก๊กมินตั๋ง | หลี่ จงเหริน (1950–1954[2])
ว่าง (1954) | |
20 พฤษภาคม 1954 | 20 พฤษภาคม 1960 | 2 | 1954 1,507 (96.91%) | เฉิน เฉิง | ||||
20 พฤษภาคม 1960 | 20 พฤษภาคม 1966 | 3 | 1960 1,481 (93.97%) | เฉิน เฉิง (1960–1965[3])
ว่าง (1965–1966) | ||||
20 พฤษภาคม 1966 | 20 พฤษภาคม1972 | 4 | 1966 1,405 (98.60%) | เหยียน เจียกั้น | ||||
20 พฤษภาคม 1972 | 5เมษายน 1975 | 5 | 1972 1,308 (99.39%) | เหยียน เจียกั้น | ||||
2 | เหยียน เจียกั้น 嚴家淦 (1905–1993) |
6 เมษายน 1975 | 20 พฤษภาคม 1978 | — | พรรคก๊กมินตั๋ง | ว่าง | ||
3 | เจียง จิ่งกั๊วะ 蔣經國 (1910–1988) |
20 พฤษภาคม 1978 | 20 พฤษภาคม 1984 | 6 | 1978 1,184 (98.34%) | พรรคก๊กมินตั๋ง | เซี่ย ตงหมิ่น | |
20 พฤษภาคม 1984 | 13 มกราคม 1988 | 7 | 1984 1,012 (95.11%) | หลี่ เติงฮุย | ||||
4 | หลี่ เติงฮุย 李登輝 (1923–2020) |
13 มกราคม 1988 | 20 พฤษภาคม 1990 | — | พรรคก๊กมินตั๋ง | ว่าง | ||
20 พฤษภาคม 1990 | 20 พฤษภาคม 1996 | 8 | 1990 641 (85.24%) | หลี่ หยวนจู้ | ||||
ประธานาธิบดีหลังกระบวนการเข้าสู่การเลือกตั้งโดยตรง | ||||||||
4 | หลี่ เติงฮุย 李登輝 (1923–2020) |
20 พฤษภาคม 1996 | 20 พฤษภาคม 2000 | 9 | 1996 5,813,699 (54.0%) | พรรคก๊กมินตั๋ง | เหลียนจ้าน | |
5 | เฉิน สุยเปี่ยน 陳水扁 (เกิด 1950) |
20 พฤษภาคม 2000 | 20 พฤษภาคม 2004 | 10 | 2000 4,977,737 (39.3%) | พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า | แอนเน็ต หลวี่ | |
20 May 2004 | 20 พฤษภาคม 2008 | 11 | 2004 6,446,900 (50.11%) | |||||
6 | หม่า อิงจิ่ว 馬英九 (เกิด 1950) |
20 พฤษภาคม 2008 | 20 พฤษภาคม 2012 | 12 | 2008 7,658,724 (58.45%) | พรรคก๊กมินตั๋ง | วินเซนต์ เซียว | |
20 พฤษภาคม 2012 | 20 พฤษภาคม 2016 | 13 | 2012 6,891,139 (51.60%) | อู๋ตุนอี้ | ||||
7 | ไช่ อิงเหวิน 蔡英文 (เกิด 1956) |
20 พฤษภาคม 2016 | 20 พฤษภาคม 2020 | 14 | 2016 6,894,744 (56.1%) | พรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า | เฉิน เจี้ยนเหริน | |
20 พฤษภาคม 2020 | อยู่ในวาระ | 15 | 2020 8,170,231 (57.13%) | วิลเลียม ล่าย |