จังหวัดโทยามะ

จังหวัดของประเทศญี่ปุ่น

จังหวัดโทยามะ (ญี่ปุ่น: 富山県โรมาจิToyama-ken) ตั้งอยู่บริเวณภาคชูบุของญี่ปุ่นมีเมืองหลวงอยู่ที่เมืองโทยามะ

จังหวัดโทยามะ

富山県
การถอดเสียงญี่ปุ่น
 • ญี่ปุ่น富山県
 • โรมันจิToyama-ken
ธงของจังหวัดโทยามะ
ธง
โลโกอย่างเป็นทางการของจังหวัดโทยามะ
ตรา
ที่ตั้งของจังหวัดโทยามะ
พิกัด: 36°43′N 137°9′E / 36.717°N 137.150°E / 36.717; 137.150
ประเทศญี่ปุ่น
ภูมิภาคจูบุ (โฮกูริกุ)
เกาะฮนชู
เมืองหลวงโทยามะ
เขตการปกครองอำเภอ: 2, เทศบาล: 15
การปกครอง
 • ผู้ว่าราชการฮาติโระ นิตตะ
พื้นที่
 • ทั้งหมด4,247.61 ตร.กม. (1,640.01 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่อันดับที่ 33
ประชากร
 (1 มิถุนายน ค.ศ. 2019)
 • ทั้งหมด1,044,588 คน
 • อันดับอันดับที่ 37
 • ความหนาแน่น250 คน/ตร.กม. (640 คน/ตร.ไมล์)
รหัส ISO 3166JP-16
เว็บไซต์pref.toyama.jp
สัญลักษณ์
สัตว์ปีกPtarmigan[1]
สัตว์น้ำJapanese amberjack
Pasiphaea japonica
Firefly squid[1]
ดอกไม้ทิวลิป (Tulipa)[1]
ต้นไม้Tateyama Cedar (Cryptomeria japonica)[1]

ภูมิศาสตร์

แก้

จังหวัดโทยามะมีอาณาเขตด้านทิศเหนือติดต่อกับทะเลญี่ปุ่น ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดนีงาตะและจังหวัดนางาโนะ ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดกิฟุ และทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดอิชิกาวะ พื้นที่ร้อยละ 30 โดยประมาณของจังหวัดโทยามะอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติ[2] ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2555 มีรายงานการค้นพบธารน้ำแข็งครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นที่จังหวัดโทยามะ ซึ่งถือเป็นธารน้ำแข็งที่อยู่ใต้สุดของเอเชียตะวันออก[3]

ประวัติศาสตร์

แก้

โรคอิไตอิไต

แก้

ในช่วงทศวรรษ 1910 มีรายงานว่าชาวบ้านในแถบที่ราบลุ่มแม่น้ำจินซูในเขตจังหวัดโทยามะมีอาการป่วยเนื่องจากโลหะหนักแคดเมียมที่ปนเปื้อนในแม่น้ำ ชื่อโรคอิไตอิไตมาจากคำว่าอิไต (ญี่ปุ่น: 痛いโรมาจิitai) ซึ่งเป็นคำอุทานแสดงอาการเจ็บปวดในภาษาญี่ปุ่นเนื่องจากผู้ป่วยด้วยโรคนี้จะมีอาการปวดตามร่างกาย ซึ่งโรคอิไตอิไตนี้ถือเป็นหนึ่งในสี่โรคที่เกิดจากมลภาวะที่ร้ายแรงที่สุดในประเทศญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 2012 ทางการจังหวัดโทยามะได้ตั้งพิพิธภัณฑ์โรคอิไตอิไตจังหวัดโทยามะขึ้นเพื่อให้สาธารณชนได้ตระหนักถึงปัญหาการปนเปื้อน[4]

การปกครอง

แก้

จังหวัดโทยามะประกอบด้วย 10 นคร 2 อำเภอ 4 เมือง และ 1 หมู่บ้าน ได้แก่

นคร

แก้

อำเภอ เมือง และหมู่บ้าน

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 富山県の魅力・観光>シンボル. Toyama Prefectural website (ภาษาญี่ปุ่น). Toyama Prefecture. สืบค้นเมื่อ 9 September 2011.
  2. กระทรวงสิ่งแวดล้อม (ประเทศญี่ปุ่น) (1 เมษายน 2557). "General overview of area figures for Natural Parks by prefecture" (PDF). โตเกียว. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. มัตสึตานิ, มิโนรุ (6 เมษายน 2555). "First glaciers in Japan recognized". เดอะเจแปนไทมส์. โตเกียว. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2561. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. พิพิธภัณฑ์โรคอิไตอิไตจังหวัดโทยามะ. "Introduction". โทยามะ. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้