รายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย
รายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น เริ่มจากเกาะหลักทั้งสี่เกาะ ลักษณะทั่วไปของเกาะดูเหมือนร่างกายของมังกร[1] โดยเกาะหลัก 4 เกาะของประเทศญี่ปุ่นมีดังนี้
นอกจากนี้ยังมีเกาะเล็กน้อยอีกเป็นจำนวนมาก
รายชื่อเกาะขนาดเล็กของญี่ปุ่น
แก้ญี่ปุ่นมีเกาะเล็กๆกว่า 6,000+ เกาะ และ 430+ เกาะมีประชากรอาศัยอยู่[4]
ฮกไกโด
แก้หมู่เกาะของเกาะฮนชูที่อยู่ใน ทะเลญี่ปุ่น
แก้เกาะในอ่าวโตเกียว (เกาะเทียม)
แก้- เกาะดรีม (ยุเมะ โนะ ชิมะ)
- โอะไดบะ
- ซะรุชิมะ (เกาะธรรมชาติ)
- เกาะโจะนัน
- เกาะเฮย์วะ
- เกาะโชะวะ
- เกาะเคย์ฮิน
- ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว
- คัตสึชิมะ
- ฮัคเคย์จิมะ
- ฮิงะชิ โอะงิจิมะ
- วะคะสุ (若洲)
- โองิชิมะ
เกาะในอ่าวโอซะกะ (เกาะเทียม)
แก้- มะอิชิมะ
- ยุเมะชิมะ
- สะกิชิมะ
- ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ
- ท่าอากาศยานโกเบ
- พอร์ตไอส์แลนด์
- เกาะรกโกะ
- มินะมิ อะชิยะฮะมะ
- วะคะยะมะ มารีนา ซิตี้
- นิชิโนะมิยะฮะมะ
- ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์ (เกาะเทียม)
- คะมิชิมะ
- เกาะคะชิโกะ
- เกาะโคะซุคุมิ
- เกาะมิกิโมะโตะแพร์ล
- โอะซุคุมิจิมะ
เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก (หรือหมู่เกาะนัมโป)
แก้- หมู่เกาะอิซุ[8]
- หมู่เกาะโอะงะซะวะระ[13]
- จิจิ[13]
- ฮะฮะ[13]
- อิโวะ[13]
- มินะมิโทะริชิมะ (เกาะมาร์คูส)
- โอะกิโนะโทะริชิมะ (พาเรเซ่ เวล่า)
- หมู่เกาะภูเขาไฟ[13]
- เอะโนะชิมะ
เกาะรอบๆคีวชู
แก้ส่วนใหญ่จะเป็นเกาะที่ตั้งอยู่ทะเลจีนใต้
หมู่เกาะรีวกีว (นันเซย์-โชะโท)
แก้ครึ่งหนึงทางเหนือของเกาะเป็นเขตปกครองของจังหวัดคะโงะชิมะและคีวชู
กลุ่มทางตะวันออกเฉียงเหนือ:
กลุ่มทางตะวันตกเฉียงเหนือ:
ชิจิ-โท:
- คุจิโนะชิมะ
- นะกะโนะชิมะ (คะโงะชิมะ)
- งะจะจิมะ
- สุวะโนะเซะจิมะ
- อะคุเซะกิจิมะ
- ทะอิระจิมะ
- โคะดะคะระจิมะ
- ทะคะระจิมะ
- อะมะมิ โอชิมะ
- คิกะอิจิมะ
- คะเคะโระมะชิมะ
- โยะโระชิมะ
- อุเคะชิมะ
- โทะคุโนะชิมะ
- โอะกิโนะเอะระบุจิมะ
- โยะรนจิมะ
หมู่เกาะรีวกีว (รีวกีว-โชะโท)
แก้ครึ่งทางใต้ของโอะกินะวะ
ศูนย์กลางของกลุ่ม:
- เกาะโอกินะวะ[6]
- คุเมะจิมะ
- อิเฮะยะจิมะ
- อิเซะนะจิมะa
- อะงุนิจิมะ
- อิเอะจิมะ
- อิโวะ โทะริ ชิมะ (อิโอโทะริชิมะ) [1]
- หมู่เกาะเคะระมะ
- หมู่เกาะไดโท
รู้จักกันในนามว่าเกาะที่ห่างไกล:
- หมู่เกาะคะซะโอะกะ
- ทะคะชิมะ (โอะกะยะมะ) 高島 (岡山県笠岡市)
- ชิระอิชิ
- คิตะงิ, 北木島
- โอบิชิ, 大飛島
- โคะบิ, 小飛島
- มะนะเบะ, 真鍋島
- มุชิมะ (โอะกะยะมะ), 六島 (岡山県)
- หมู่เกาะชิวะกุ
- อะวะจิ[7]
- เอะตะจิมะ
- อิตสึคุชิมะ (ประชาชนส่วนใหญ่รู้จักในนาม "มิยะจิมะ")
- โชโดะชิมะ
- ซุโอ-โอชิม (ยะมะงุจิ)
เกาะในทะเลสาบ
แก้- เกาะไดคง
- เบนเทนจิมะในทะเลสาบโทะยะ
- เบนเทนจิมะในทะเลสาบฮะมะนะ
เกาะเทียมอื่นๆ
แก้- ท่าอากาศยานนานาชาติชูบุเซ็นแทรร์
- เดจิมะ[6]
- ท่าอากาศยานคิตะกีวชู
- มิโดะริโนะชิมะ
- มาลิมเปีย โอะกิโนะสุ ja:マリンピア沖洲
- วะคะเอะจิมะ ja:和賀江島
- เกาะเมือง, ฟุกุโอะกะ ja:アイランドシティ
อ้างสิทธิ์แต่ไม่ได้ครอบครอง
แก้ดินแดนทางตอนเหนือ
แก้มีสี่เกาะที่เป็นข้อพิพาท คือ หมู่เกาะคูรีล ชื่ออื่นคือ หมู่เกาะจิชิมะ[14] ดูเพิ่มเติมที่ข้อพิพาทหมู่เกาะคูรีล.
อื่นๆ
แก้- เลียนคอร์ท ร็อกส์ (ดกโด/ทะเคะชิมะ) - ครอบครองโดยเกาหลีใต้
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 Imperial Japanese Commission to the Louisiana Purchase Exposition. (1903). Japan in the Beginning of the 20th century (Haruki Yamawaki, editor), p. 2.
- ↑ Imperial Japanese Commission, pp. 3-4.
- ↑ Imperial Japanese Commission, pp. 2-3.
- ↑ Look Japan, Vol. 43, Issues 493-504, p. 35; retrieved 2013-3-2.
- ↑ Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Rishiri-tō" in Japan Encyclopedia, p. 791.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 Ponsonby-Fane, Richard. (1962). Sovereign and Subject, p. 332.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 7.3 7.4 Ponsonby-Fane, p. 331.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 Nussbaum, "Izu Shotō" at p. 412.
- ↑ Gotoh, H. et al. (2010). "Infrastructure Maintenance and Disaster Prevention Measures on Isolated Islands: the Case of the Izu Islands near Tokyo" in Island Sustainability (Favro, S., editor), p. 187.
- ↑ Nussbaum, p. 412; Ponsonby-Fane, p. 332.
- ↑ Nussbaum, "Ōshima" at p. 761.
- ↑ Nussbaum, "Torishima" at p. 987.
- ↑ 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 13.5 Nussbaum, "Ogasawara Guntō" at p. 737.
- ↑ Imperial Japanese Commission, p. 3.