ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019 เป็นการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 โดยเป็นฤดูกาลที่ 64 สำหรับการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรปที่จัดโดยยูฟ่า และเป็นฤดูกาลที่ 27 นับตั้งแต่การเปลี่ยนชื่อการแข่งขันจากยูโรเปียนแชมเปียนคลับคัพ มาเป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก โดยการแข่งขันครั้งนี้จะจัดขึ้นที่ วันดาเมโตรโปลิตาโน ใน มาดริด, ประเทศสเปน ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562.[5]

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019
รายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19
วันที่1 มิถุนายน พ.ศ. 2562
สนามวันดาเมโตรโปลิตาโน, มาดริด
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
เฟอร์จิล ฟัน ไดก์ (ลิเวอร์พูล)[1]
ผู้ตัดสินดามีร์ สคอมีนา (สโลวีเนีย)[2]
ผู้ชม63,272 คน[3]
สภาพอากาศมีแดด
30 °C (86 °F)
ความชิ้นสัมพัทธ์ 15%[4]
2018
2020

ทีม แก้

ทีม การเข้าร่วมครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ)
  ทอตนัมฮอตสเปอร์ ไม่มี
  ลิเวอร์พูล 8 (1977, 1978, 1981, 1984, 1985, 2005, 2007, 2018)

สนามแข่งขัน แก้

 
สนาม วันดาเมโตรโปลิตาโน ใน มาดริด จะเป็นเจ้าภาพในนัดชิงชนะเลิศ.

นี่เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ห้าของยูโรเปียนคัพ/ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจัดขึ้นใน มาดริด, หลังจากนัดชิงชนะเลิศเมื่อปี 1957, 1969, 1980, และ 2010, ทั้งหมดจัดขึ้นที่ สนามกีฬาซานเตียโก เบร์นาเบว.[6]

สนามกีฬาสนามนี้เป็นรังเหย้าของสโมสรจากสเปน อัตเลติโกเดมาดริด. เนื่องจากข้อบังคับของยูฟ่าเกี่ยวกับการตั้งชื่อสิทธิ์ของผู้สนับสนุนที่ไม่ได้เป็นทัวร์นาเมนต์, สนามกีฬาสนามนี้จะถูกเรียกชื่อว่า "เอสตาดิโอ เมโตรโปลิตาโน" ในปัจจัยทั้งหมดของยูฟ่า.

การคัดเลือกเจ้าภาพ แก้

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก รอบชิงชนะเลิศ 2019
ประเทศ สนาม เมือง ความจุ หมายเหตุ
  อาเซอร์ไบจาน สนามกีฬาโอลิมปิกบากู บากู 69,870 ยังเสนอตัวเป็นเจ้าภาพ ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2019
  สเปน วันดาเมโตรโปลิตาโน มาดริด 68,000

ภูมิหลัง แก้

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ แก้

หมายเหตุ: (H: เหย้า; A: เยือน).

  ทอตนัมฮอตสเปอร์ รอบ   ลิเวอร์พูล
คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน
  อินแตร์นาซีโอนาเล 1–2 (A) นัดที่ 1   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 3–2 (H)
  บาร์เซโลนา 2–4 (H) นัดที่ 2   นาโปลี 0–1 (A)
  เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 2–2 (A) นัดที่ 3   เรดสตาร์ เบลเกรด 4–0 (H)
  เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 2–1 (H) นัดที่ 4   เรดสตาร์ เบลเกรด 0–2 (A)
  อินแตร์นาซีโอนาเล 1–0 (H) นัดที่ 5   ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 1–2 (A)
  บาร์เซโลนา 1–1 (A) นัดที่ 6   นาโปลี 1–0 (H)
รองแชมป์กลุ่ม B
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   บาร์เซโลนา 6 14
2   ทอตนัม ฮอตสเปอร์ 6 8
3   อินแตร์นาซีโอนาเล 6 8
4   เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 6 2
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
ตารางคะแนน รองแชมป์กลุ่ม C
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง 6 11
2   ลิเวอร์พูล 6 9
3   นาโปลี 6 9
4   เรดสตาร์ เบลเกรด 6 4
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
คู่แข่งขัน ผล นัดแรก นัดที่สอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน ผล นัดแรก นัดที่สอง
  โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 4–0 3–0 (H) 1–0 (A) รอบ 16 ทีมสุดท้าย   บาเยิร์นมิวนิก 3–1 0–0 (H) 3–1 (A)
  แมนเชสเตอร์ซิตี 4–4 () 1–0 (H) 3–4 (A) รอบก่อนรองชนะเลิศ   โปร์ตู 6–1 2–0 (H) 4–1 (A)
  อายักซ์ 3–3 () 0–1 (H) 3–2 (A) รอบรองชนะเลิศ   บาร์เซโลนา 4–3 0–3 (A) 4–0 (H)

ก่อนการแข่งขัน แก้

ทูต แก้

ทูตสำหรับนัดชิงชนะเลิศเป็นอดีตนักเตะทีมชาติสเปน ลุยส์ การ์ซิอา. ผู้ที่เคยลงเล่นให้กับ อัตเลติโกมาดริด ในฤดูกาล 2002–03 และจากปี ค.ศ. 2007 ถึง 2009. และเคยชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกกับ ลิเวอร์พูล ใน ค.ศ. 2005.[7]

การจำหน่ายตั๋ว แก้

ด้วยตัวสนามแข่งขันมีความจุรองรับได้ 63,000 คนสำหรับเกมนัดชิงชนะเลิศ, จากจำนวนตั๋วเข้าชมทั้งหมด 38,000 ใบ ได้ถูกจำหน่ายไปให้กับแฟนบอลและประชาชนทั่วไป, กับทีมที่เข้าชิงชนะเลิศทั้งสองทีมนั้นแต่ละฝั่งจะได้รับตั๋วไปจำหน่าย 17,000 ใบ และตั๋วเข้าชมการแข่งขันอีก 4,000 ใบ พร้อมจำหน่ายให้กับแฟนๆ ทั่วโลกผ่านทางเว็บไซต์ UEFA.com ตั้งแต่วันที่ 14 ถึง 21 มีนาคม 2562 ในสี่หมวดราคา: €600, €450, €160, และ €70. ส่วนตั๋วที่เหลือจะจัดสรรให้กับคณะกรรมการจัดงานท้องถิ่น, ยูฟ่า และชาติสมาชิก, ห้างหุ้นส่วนร้านค้า และสถานีการถ่ายทอดต่างๆ, และเพื่อรองรับโปรแกรมในการต้อนรับ.[8]

พิธีเปิดการแข่งขัน แก้

อิแมจินดรากอนส์ จะมาเป็นผู้แสดงในพิธีเปิดการแข่งขันก่อนนัดชิงชนะเลิศจะเริ่มต้นขึ้น.[9]

การแข่งขัน แก้

รายละเอียด แก้

ทีม "เจ้าบ้าน" (สำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ) จะถูกกำหนดขึ้นโดยการจับสลากเกิดขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นการจับสลากรอบรองชนะเลิศ, ที่ได้จัดขึ้นไปแล้วเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019), 12:00 CET, ที่สำนักงานใหญ่ยูฟ่าในเมือง นียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.[10][11]

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ทอตนัมฮอตสเปอร์[4]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ลิเวอร์พูล[4]
GK 1   อูว์โก โยริส (กัปตัน)
RB 2   คีแรน ทริปเปียร์
CB 4   โตบี อัลเดอร์เวเริลด์
CB 5   ยัน เฟอร์โตงเงิน
LB 3   แดนนี โรส
CM 17   มูซา ซีซอโก   74'
CM 8   แฮร์รี วิงส์   66'
RW 20   เดลี แอลลี   81'
AM 23   คริสเตียน เอริกเซน
LW 7   ซน ฮึง-มิน
CF 10   แฮร์รี เคน
ผู้เล่นสำรอง:
GK 13   มีเชล ฟอร์ม
GK 22   เปาโล กัซซานีกา
DF 6   ดาบินซอน ซันเชซ
DF 16   ไคล์ วอล์กเกอร์-ปีเตอส์
DF 21   ควน ฟอยต์
DF 24   แซร์ฌ โอรีเย
DF 33   เบน เดวีส์
MF 11   เอริก ลาเมลา
MF 12   วิกเตอร์ วานยามา
MF 15   เอริก ไดเออร์   74'
MF 27   ลูกัส มูรา   66'
FW 18   เฟร์นันโด ยอเรนเต   81'
ผู้จัดการทีม:
  เมาริซิโอ โปเชติโน
 
GK 13   อาลีซง
RB 66   เทรนต์ อเล็กซานเดอร์-อาร์โนลด์
CB 32   ฌอแอล มาติป
CB 4   เฟอร์จิล ฟัน ไดก์
LB 26   แอนดรูว์ รอเบิร์ตสัน
CM 14   จอร์แดน เฮนเดอร์สัน (กัปตัน)
CM 3   ฟาบิญญู
CM 5   จอร์จีนีโย ไวนัลดึม   62'
RF 11   มุฮัมมัด เศาะลาห์
CF 9   โรแบร์ตู ฟีร์มีนู   58'
LF 10   ซาดีโย มาเน   90'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 22   ซีมง มีญอแล
GK 62   คีวิน เคลเลเฮอร์
DF 6   เดยัน ลอฟเรน
DF 12   โจ โกเมซ   90'
DF 18   อัลแบร์โต โมเรโน
MF 7   เจมส์ มิลเนอร์   62'
MF 20   แอดัม ลัลลานา
MF 21   อเล็กซ์ ออกซ์เลด-เชมเบอร์ลิน
MF 23   แจร์ดัน ชาชีรี
FW 15   แดเนียล สเตอร์ริดจ์
FW 24   เรียน บริวสเตอร์
FW 27   ดีว็อก โอรีกี   58'
ผู้จัดการทีม:
  เยือร์เกิน คล็อพ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เฟอร์จิล ฟัน ไดก์ (ลิเวอร์พูล)[1]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
จูเร ปราปรอตนิค (สโลวีเนีย)
รอเบิร์ต วูคัน (สโลวีเนีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
อันโตนิโอ มาเตอู ลาโฮซ (สเปน)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
ดันนี มัคเคอไล (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการใช้วิดีโอช่วยตัดสิน:[2]
โปล ฟัน โบเอเคิล (เนเธอร์แลนด์)
เฟลิกซ์ ซวาเยอร์ (เยอรมนี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอจากการช่วยเช็ควิดีโอล้ำหน้า:[2]
มาร์ค บอร์สช์ (เยอรมนี)

ข้อมูลการแข่งขัน[12]

  • แข่งขันในเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษอีก 30 นาที กรณีทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษเพื่อหาผู้ชนะ
  • รายชื่อตัวสำรองทีมละ 12 คน
  • เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุดสามคน, แต่อนุญาตในการเปลี่ยนตัวคนที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ.

สถิติ แก้

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 "Liverpool beat Tottenham to win sixth European Cup". UEFA.com. Union of European Football Associations. 1 June 2019. สืบค้นเมื่อ 1 June 2019.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ officials
  3. 3.0 3.1 "Full Time Report Final – Tottenham Hotspur v Liverpool" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  4. 4.0 4.1 4.2 "Tactical Line-ups – Final – Saturday 1 June 2019" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  5. "Madrid to host UEFA Champions League Final 2019". UFEA.com. Union of European Football Associations. 20 September 2017. สืบค้นเมื่อ 20 September 2017.
  6. "Madrid's Estadio Metropolitano to host 2019 Champions League final". UEFA.com. Union of European Football Associations. 20 September 2017. สืบค้นเมื่อ 21 December 2018.
  7. "Bayern drawn against Liverpool in last 16". fcbayern.com. Fußball-Club Bayern München. 17 December 2018. สืบค้นเมื่อ 18 December 2018.
  8. "2019 UEFA Champions League final ticket sales start on Thursday". UEFA.com. Union of European Football Associations. 13 มีนาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  9. "Imagine Dragons to play at UEFA Champions League final". UEFA.com. 9 May 2019. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. "2018/19 Champions League match and draw calendar". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 January 2018. สืบค้นเมื่อ 9 January 2018.
  11. "UEFA Champions League quarter-final, semi-final and final draws". UEFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-05-19. สืบค้นเมื่อ 2019-04-17.
  12. "2018/19 UEFA Champions League regulations" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 May 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-05-12. สืบค้นเมื่อ 12 May 2018.
  13. 13.0 13.1 13.2 "Team statistics" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 1 June 2019. สืบค้นเมื่อ 1 June 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้