มิสเวิลด์ 1999
มิสเวิลด์ 1999 เป็นการประกวดครั้งที่ 49 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ที่ Olympia Hall ลอนดอน สหราชอาณาจักร ผู้ชนะในการประกวดครั้งนี้ คือ Yukta Mookhey จากประเทศอินเดีย
มิสเวิลด์ 1999 | |
---|---|
วันที่ | 4 ธันวาคม พ.ศ. 2542 |
สถานที่จัด | Olympia Hall ลอนดอน สหราชอาณาจักร |
ถ่ายทอดทาง |
|
เข้าร่วมประกวด | 94 |
ผ่านเข้ารอบ | 10 |
เข้าร่วมครั้งแรก | |
ถอนตัว | |
กลับมาเข้าร่วม | |
ผู้ชนะเลิศ | Yukta Mookhey[1] อินเดีย |
ผลการประกวด
แก้ตำแหน่งสำคัญ
แก้ผลการประกวด | ผู้เข้าประกวด |
---|---|
มิสเวิลด์ 1999 |
|
รองอันดับ 1 |
|
รองอันดับ 2 |
|
5 คนสุดท้าย | |
10 คนสุดท้าย |
|
คอนติเนนทอลควีนส์ออฟบิวตี
แก้ทวีป | ผู้เข้าประกวด |
---|---|
แอฟริกา |
|
อเมริกา |
|
เอเชียและโอเชียเนีย |
|
แคริบเบียน |
|
ยุโรป |
|
ผู้เข้าประกวด
แก้- หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ – Shari Afua Smith
- แองโกลา – Lorena Silva
- อาร์เจนตินา – Verónica Denise Barrionuevo
- อารูบา – Cindy Vanessa Cam Tin Martinus
- ออสเตรเลีย – Nalishebo Gaskell
- ออสเตรีย – Sandra Kolbl
- บาฮามาส – Mary Watkins
- บังกลาเทศ – Tania Rahman Tonni
- เบลเยียม – Brigitta Callens
- โบลิเวีย – Ana Raquel Rivera Zambrana
- บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา – Samra Begović
- บอตสวานา – Alimah Isaacs
- บราซิล – Paula de Souza Carvalho
- บัลแกเรีย – Violeta Zdravkova
- แคนาดา – Mireille Eid
- หมู่เกาะเคย์แมน – Mona Lisa Tatum
- ชิลี – Lissette Sierra Ocayo
- โคลอมเบีย – Mónica Elizabeth Escolar Danko
- คอสตาริกา – Fiorella Martínez
- โครเอเชีย – Ivana Petković
- ไซปรัส – Sofia Georgiou
- เช็กเกีย – Helena Houdova
- สาธารณรัฐโดมินิกัน – Luz Cecilia García Guzmán
- เอกวาดอร์ – Sofía Morán Trueba
- เอสโตเนีย – Karin Laasmäe
- ฟินแลนด์ – Maria Laamanen
- ฝรั่งเศส – Sandra Bretones
- เยอรมนี – Susan Höcke
- กานา – Mariam Sugru Bugri
- ยิบรอลตาร์ – Abigail Garcia
- กรีซ – Evangelia Vatidou
- กัวเตมาลา – Ana Beatriz González Scheel
- กายอานา – Indra Changa
- เนเธอร์แลนด์ – Ilona Marilyn van Veldhuisen
- ฮอนดูรัส – Irma Waleska Quijada Henríquez
- เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน – Marsha Yuan Hu-Ma
- ฮังการี – Erika Dankai
- ไอซ์แลนด์ – Katrín Baldursdóttir
- อินเดีย – Yukta Mookhey
- ไอร์แลนด์ – Emir-Maria Holohan Doyle
- อิสราเอล – Jenny Chervoney
- อิตาลี – Gloria Nicoletti
- จาเมกา – Desiree Depass
- ญี่ปุ่น – Aya Mitsubori
- คาซัคสถาน – Assel Issabayeva
- เคนยา – Esther Muthoni Muthee
- เกาหลีใต้ – Han Na-na
- ลัตเวีย – Evija Rucevska
- เลบานอน – Norma Elias Naoum
- ไลบีเรีย – Sebah Esther Tubman
- ลิทัวเนีย – Renata Mackevičiūtė
- มาดากัสการ์ – Tantely Naina Ramonjy
- มาเลเซีย – Jaclyn Lee Tze Wey
- มอลตา – Catharine Attard
- เม็กซิโก – Danette Velasco Bataller
- เนปาล – Shweta Singh
- นิวซีแลนด์ – Coralie Ann Warburton
- ไนจีเรีย – Augustine Iruviere
- นอร์เวย์ – Annette Haukaas
- ปานามา – Jessenia Casanova Reyes
- ปารากวัย – Mariela Candia Ramos
- เปรู – Wendy Monteverde
- ฟิลิปปินส์ – Lalaine Bognot Edson
- โปแลนด์ – Marta Kwiecień
- โปรตุเกส – Joana Ines Texeira
- ปวยร์โตรีโก – Arlene Torres
- โรมาเนีย – Nicoleta Luciu
- รัสเซีย – Elena Efimova
- ซินต์มาร์เติน – Ifelola Badejo
- สกอตแลนด์ – Stephanie Norrie
- เซเชลส์ – Anne-Mary Jorre
- สิงคโปร์ – Audrey Quek Ai Woon
- สโลวาเกีย – Andrea Verešová
- สโลวีเนีย – Neda Gačnik
- แอฟริกาใต้ – Sonia Raciti
- สเปน – Lorena Bernal Pascual
- ศรีลังกา – Dilumini de Alwis Jayasinghe
- เอสวาตินี – Colleen Tullonen
- สวีเดน – Jenny Louise Torsvik
- สวิตเซอร์แลนด์ – Anita Buri
- เฟรนช์พอลินีเชีย – Manoa Froge
- แทนซาเนีย – Hoyce Anderson Temu
- ไทย – Kamala Kumpu Na Ayutthaya
- ตรินิแดดและโตเบโก – Sacha Anton
- ตุรกี – Ayşe Hatun Önal
- ยูเครน – Olga Savinskaya
- สหราชอาณาจักร – Nicola Willoughby
- สหรัฐอเมริกา – Natasha Allas
- อุรุกวัย – Katherine Gonzalves
- เวเนซุเอลา – Martina Thorogood Heemsen
- เวลส์ – Clare Marie Daniels
- ยูโกสลาเวีย – Lana Marić
- แซมเบีย – Cynthia Chikwanda
- ซิมบับเว – Brita Maseluthini
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 "Reading Eagle". สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2016.
- ↑ "New Straits Times". สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2016.
- ↑ "Gainesville Sun". สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2016.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ Miss World