ผู้ใช้:Colaber/อาร์ทิมิส 1
อาร์ทิมิส | |
---|---|
อาร์ทิมิส 1 ณ ฐานปล่อยจรวด 39B ศูนย์อวกาศเคนเนดี เพื่อเตรียมการทดสอบในขึ้นสุดท้ายเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2022 | |
รายชื่อเก่า | Artemis I Exploration Mission-1 (EM-1) |
ประเภทภารกิจ | ทดสอบโคจรรอบดวงจันทร์ |
ผู้ดำเนินการ | นาซา |
เว็บไซต์ | www |
ระยะภารกิจ | 26-42 วัน (กำหนดการ)[1] |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | โอไรออน CM-002 |
ชนิดยานอวกาศ | โอไรออน MPCV |
ผู้ผลิต | โบอิง ล็อกฮีด มาร์ติน Airbus Defence and Space |
กำลังไฟฟ้า | วัตต์ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 29 สิงหาคม 2022 19:33 GMT (กำหนดการ)[2] |
จรวดนำส่ง | Space Launch System, Block 1 |
ฐานส่ง | ศูนย์อวกาศเคนเนดี, ฐานปล่อยจรวด 39B |
ผู้ดำเนินงาน | นาซา |
สิ้นสุดภารกิจ | |
เก็บกู้โดย | กองทัพเรือสหรัฐ |
ลงจอด | ยังไม่มีกำหนดการ |
พิกัดลงจอด | มหาสมุทรแปซิฟิก |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | วงโคจรของดวงจันทร์ |
คาบการโคจร | 14 วัน |
ยานอวกาศโคจรรอบดวงจันทร์ | |
เครื่องหมายภารกิจอาร์ทิมิส 1 |
อาร์ทิมิส 1 (อังกฤษ: Artemis 1)[3]
เป็นแผนการปล่อยจรวดในโครงการอาร์ทิมิสของนาซาเพื่อทดสอบการโคจรรอบดวงจันทร์ ก่อนที่การกิจอาร์ทิมิส 2 ภารกิจต่อไปจะขึ้นไปพร้อมลูกเรืออีก 4 คน โดย จะเป็นเที่ยวบินแรกของจรวดขนส่งขนาดใหญ่ Space Launch System (SLS) พร้อมด้วยยานโอไรออน[4] โดยอาร์ทิมิส 1 มีกำหนดการปล่อยเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2565[5]
ภาพรวม
แก้อาร์ทิมิส 1 จะขึ้นสู่วงโคจรของโลกด้วยจรวด Space Launch System (SLS) ที่ฐานปล่อย LC-39B ศูนย์อวกาศเคเนดี ภารกิจจะใช้เวลาประมาณ 26 ถึง 42 วัน[6]โดยประมาณ โดยใช้เวลาอยู่ในวงโคจรของดวงจันทร์อย่างน้อยถึง 6 วันขณะที่ย้อนกลับมายังโลก[6]
เส้นเวลาภารกิจ
แก้เวลาภารกิจ (MET) | เหตุการณ์ | ความสูง |
---|---|---|
0 ชั่วโมง 00 นาที 00 วินาที | ปล่อยจรวด | 0 กม. (0 ไมล์)
สถานที่: ศูนย์อวกาศเคนเนดี |
0 ชั่วโมง 02 นาที 12 วินาที | ถังจรวดเชิ้อเพลิงแข็งถูกแยกออก | 45 กม. (28 ไมล์) |
0 ชั่วโมง 03 นาที 30 วินาที | Service module panels and launch abort system jettisoned | 91 กม. (57 ไมล์) |
0 ชั่วโมง 08 นาที 30 วินาที | ปิดเครื่องยนต์หลัก และแยกออกจากถังเชื้อเพลิงหลัก | 157 กม. (98 ไมล์) |
0 ชั่วโมง 16 นาที 20 วินาที | กางแผงเซลล์แสงอาทิตย์ | 484 กม. (301 ไมล์) |
0 ชั่วโมง 51 นาที 00 วินาที | Perigee raise maneuver | 1,791 กม. (1,113 ไมล์) |
1 ชั่วโมง 37 นาที 00 วินาที | Trans-lunar injection (TLI) | 601 กม. (373 ไมล์) |
1 ชั่วโมง 46 นาที 00 วินาที | ถังเชื้อเพลิงหลักตกลงสู่ผิวน้ำ | |
2 ชั่วโมง 05 นาที 00 วินาที | Interim Cryogenic Propulsion Stage (ICPS) separation | 3,849 กม. (2,392 ไมล์) |
วันที่ 1-4 | Outbound coasting phase | 3,849 — 394,501 กม. (2,391 — 245,131 ไมล์) |
4 วัน 7 ชั่วโมง 18 นาที | Lunar gravity assist | ระยะทางจากโลก: 401,643 กม. (249,569 ไมล์)
ระยะทางจากดวงจันทร์: 100 กม. (62 ไมล์) |
วันที่ 7-13 | Distant retrograde orbit | 348,931 — 437,321 กม. (216,815 — 271,739 ไมล์) |
20 วัน | Return powered flyby | 358,558 กม. (222,798 ไมล์) |
วันที่ 21-25 | Inbound coasting phase | 364,804 — 67,257 กม. (226,678 — 41,959 ไมล์) |
25 วัน 11 ชั่วโมง 30 นาที | Crew and service module separation | 5,140 กม. (3,194 ไมล์) |
25 วัน 11 ชั่วโมง 34 นาที | Re-entry | 100 กม. (62 ไมล์) |
≈25 วัน 12 ชั่วโมง | กางร่มชูชีพ | 7,315 m (24,000 ฟุต) |
≈25 วัน 12 ชั่วโมง | ตกลงสู่ผิวน้ำ | 0 กม. (0 ฟุต)
สถานที่: มหาสมุทรแปซิฟิก |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Clark, Stephen (18 May 2020). "NASA will likely add a rendezvous test to the first piloted Orion space mission". Spaceflight Now. สืบค้นเมื่อ 19 May 2020.
- ↑ Gebhardt, Chris (2022-06-24). "SLS readies for roll back to VAB; final launch preparations to begin". NASASpaceFlight.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-06-25.
- ↑ Artemis: brand book (Report). Washington, D.C.: NASA. 2019. NP-2019-07-2735-HQ.
MISSION NAMING CONVENTION: While Apollo mission patches used numbers and roman numerals throughout the program, Artemis mission names will use a roman numeral convention.
บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ - ↑ Grush, Loren (17 May 2019). "NASA Administrator on new Moon plan: "We're doing this in a way that's never been done before"". The Verge. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.
- ↑ {{cite web|title=NASA on Twitter: "Live Now: NASA and @ESA experts discuss specific objectives for our uncrewed #Artemis I test flight around the Moon. Set to launch on Aug. 29, the first @NASAArtemis mission is set to last four to six weeks.|url=https://twitter.com/i/broadcasts/1YqxopvWAjBKv}
- ↑ 6.0 6.1 Sloss, Philip (November 1, 2021). "Inside Artemis 1's complex launch windows and constraints". NASASpaceflight.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 25, 2022. สืบค้นเมื่อ March 25, 2022.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Colaber/อาร์ทิมิส 1
- Artemis-I at NASA