ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน
ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน (อังกฤษ: Wilkinson Microwave Anisotropy Probe; WMAP) หรือ ดาวเทียมดับเบิลยูแมป ชื่อเดิมคือ แมป (MAP) และ เอกซ์พลอเรอร์ 80 (Explorer 80) เป็นยานอวกาศที่วัดความแตกต่างของอุณหภูมิการแผ่รังสีความร้อนที่หลงเหลืออยู่จากเหตุการณ์บิกแบง หรือที่เรียกว่า การแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล โดยการตรวจวัดไปทั่วท้องฟ้า[5][6] หัวหน้าโครงการคือศาสตราจารย์ ชาร์ลส์ แอล. เบนเน็ตต์ แห่งมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์ โดยเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด องค์การนาซา กับมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน[7] ยานอวกาศดับเบิลยูแมปถูกนำส่งขึ้นอวกาศเมื่อ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2001 จากฟลอริดา ปฏิบัติการดับเบิลยูแมปประสบความสำเร็จในภารกิจ COBE และจัดเป็นยานอวกาศระดับกลาง (MIDEX) ลำที่สองของโครงการสำรวจอวกาศ ในปี ค.ศ. 2003 ชื่อโครงการเปลี่ยนจาก MAP มาเป็น WMAP เพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ เดวิด ทอดด์ วิลกินสัน (ค.ศ. 1935-2002)[7] สมาชิกคนหนึ่งในคณะนักวิทยาศาสตร์ในโครงการนี้
ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน | |
---|---|
Wilkinson Microwave Anisotropy Probe (WMAP) satellite | |
รายชื่อเก่า | Explorer 80 MAP Microwave Anisotropy Probe MIDEX-2 WMAP |
ประเภทภารกิจ | รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของเอกภพ ดาราศาสตร์ |
ผู้ดำเนินการ | นาซา |
COSPAR ID | 2001-027A |
SATCAT no. | 26859 |
เว็บไซต์ | map |
ระยะภารกิจ | 27 เดือน (วางแผน) 9 ปี (สำเร็จ)[1] |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | Explorer LXXX |
ชนิดยานอวกาศ | ดาวเทียมสำรวจคลื่นไมโครเวฟวิลกินสัน |
Bus | WMAP |
ผู้ผลิต | หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ (สหรัฐ) |
มวลขณะส่งยาน | 835 kg (1,841 lb)[2] |
มวลแห้ง | 763 kg (1,682 lb) |
ขนาด | 3.6 × 5.1 m (12 × 17 ft) |
กำลังไฟฟ้า | 419 วัตต์ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 30 มิถุนายน 2001, 19:46:46 UTC[3] |
จรวดนำส่ง | เดลต้า II 7425-10 (เดลต้า 246) |
ฐานส่ง | สถานีกองทัพอากาศแหลมคะแนเวอรัล, SLC-17B |
ผู้ดำเนินงาน | Boeing Launch Services |
เริ่มปฎิบัติงาน | 1 ตุลาคม 2001 |
สิ้นสุดภารกิจ | |
การกำจัด | วงโคจรสุสาน |
ปิดการทำงาน | 20 ตุลาคม 2010 [4] |
ติดต่อครั้งสุดท้าย | 19 สิงหาคม 2010 |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | L2 |
ระบบวงโคจร | วงโคจรลิสซาจูส์ |
กล้องโทรทรรศน์หลัก | |
ชนิด | เกรกอเรียน |
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 1.4 × 1.6 m (4 ft 7 in × 5 ft 3 in) |
ความยาวคลื่น | 23 GHz ถึง 94 GHz |
อุปกรณ์ | |
Pseudo-Correlation Radiometer | |
โครงการเอกซ์พลอเรอร์ |
อ้างอิง
แก้- ↑ "WMAP News: Events Timeline".
- ↑ "WMAP: Wilkinson Microwave Anisotropy Probe" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-25. สืบค้นเมื่อ October 28, 2016.
- ↑ "WMAP News: Events Timeline". NASA. December 27, 2010. สืบค้นเมื่อ July 8, 2015.
- ↑ NASA.gov บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
- ↑ "Wilkinson Microwave Anisotropy Probe: Overview". Legacy Archive for Background Data Analysis (LAMBDA). Greenbelt, Maryland: NASA's High Energy Astrophysics Science Archive Research Center (HEASARC). August 4, 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-01. สืบค้นเมื่อ 24 September 2009.
The WMAP (Wilkinson Microwave Anisotropy Probe) mission is designed to determine the geometry, content, and evolution of the universe via a 13 arcminute FWHM resolution full sky map of the temperature anisotropy of the cosmic microwave background radiation.
- ↑ "Tests of Big Bang: The CMB". Universe 101: Our Universe. NASA. July 2009. สืบค้นเมื่อ 24 September 2009.
Only with very sensitive instruments, such as COBE and WMAP, can cosmologists detect fluctuations in the cosmic microwave background temperature. By studying these fluctuations, cosmologists can learn about the origin of galaxies and large scale structures of galaxies and they can measure the basic parameters of the Big Bang theory.
- ↑ 7.0 7.1 "New image of infant universe reveals era of first stars, age of cosmos, and more". NASA / WMAP team. 11 February 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2004-11-08. สืบค้นเมื่อ 27 April 2008.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Sizing up the universe
- เกี่ยวกับ WMAP และรังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล - บทความที่ Space.com
- Big Bang glow hints at funnel-shaped Universe, NewScientist, 15 เมษายน 2004
- NASA 16 มีนาคม 2006 ข่าวประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการลอยตัวของ WMAP เก็บถาวร 2013-11-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Seife, Charles (2003). "With Its Ingredients MAPped, Universe's Recipe Beckons". Science. 300 (5620): 730–731. doi:10.1126/science.300.5620.730. PMID 12730575.