จันทรยาน-3
จันทรยาน-3 (อักษรโรมัน: Chandrayaan-3, แปลว่า ยานดวงจันทร์, ภาษาสันสกฤต: [t͡ʃən̪d̪rəjaːn̪] ( ฟังเสียง))[3] เป็นปฏิบัติการสำรวจดวงจันทร์ลำดับที่สามของประเทศอินเดีย ภายใต้องค์การค้นคว้าอวกาศอินเดีย (ISRO) ในโครงการจันทรยาน[3] จันทรยานประกอบด้วยแลนเดอร์ (lander) ชื่อว่า วิกรม (Vikram) และโรเวอร์ (rover) ชื่อ ปรัชญาน คล้ายกันกับของภารกิจจันทรยาน-2 มอดูลแรงขับดัน (propulsion module) พาตัวแลนเดอร์และโรเวอร์เข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์เพื่อเตรียมการสำหรับการลงจอดของแลนเดอร์[4][5]
จันทรยาน-3 | |
---|---|
มอดุลอินทิเกรต (Integrated Module) ของจันทรยาน-3 ในคลีนรูม | |
ประเภทภารกิจ | |
ผู้ดำเนินการ | ISRO |
COSPAR ID | 2023-098A |
SATCAT no. | 57320 |
เว็บไซต์ | www |
ระยะภารกิจ | 14 กรกฎาคม 2023 (ผ่านมาแล้ว)
|
ข้อมูลยานอวกาศ | |
Bus | จันทรยาน |
ผู้ผลิต | ISRO |
มวลขณะส่งยาน | 3,900 กก.[1] |
มวลบรรทุก | มอดูลแรงขับ: 2,148 กก. มอดูลแลนเดอร์ (วิกรม): 1,726 กก. โรเวอร์ (ปรัชญาน) 26 กก. รวม: 3,900 กก. |
กำลังไฟฟ้า | มอดูลแรงขับ: 758 วัตต์ มอดูลแลนเดอร์: 738 วัตต์ (WS รวมไบแอส) โรเวอร์: 50 วัตต์ |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 14 กรกฎาคม 2023 09:05:17 UTC[2] |
จรวดนำส่ง | LVM3 M4 |
ฐานส่ง | ศูนย์อวกาศสตีษ ธวัน |
ผู้ดำเนินงาน | ISRO |
ยานอวกาศโคจรรอบ ดวงจันทร์ | |
แทรกวงโคจร | 5 สิงหาคม 2023 |
ลักษณะวงโคจร | |
จุดใกล้ที่สุด | 153 กม. (95 ไมล์) |
จุดไกลที่สุด | 163 กม. (101 ไมล์) |
จันทรยาน-3 ปล่อยเมื่อ 14 กรกฎาคม 2023 และเข้าสู่วงโคจรดวงจันทร์เมื่อ 5 สิงหาคม โดยแลนเดอร์ลงจอดที่บริเวณขั้วใต้ดวงจันทร์[6] เมื่อ 23 สิงหาคม 2023 เวลา 12:32 UTC ทำให้ประเทศอินเดียเป็นชาติที่สี่ในโลกที่ลงจอดบนดวงจันทร์สำเร็จ และเป็นการลงจอดครั้งแรกใกล้กับขั้วใต้ดวงจันทร์[7][8][9]
อ้างอิง
แก้- ↑ "Chandrayaan-3 vs Russia's Luna-25 | Which one is likely to win the space race". cnbctv18.com. 14 สิงหาคม 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2023.
- ↑ "Chandrayaan-3". www.isro.gov.in. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กรกฎาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2023.
- ↑ 3.0 3.1 "Chandrayaan-3 just 1k-km from lunar surface". The Times of India. 11 August 2023. ISSN 0971-8257. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2023. สืบค้นเมื่อ 12 August 2023.
- ↑ "Chandrayaan-3 to cost Rs 615 crore, launch could stretch to 2021". The Times of India. 2 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2021. สืบค้นเมื่อ 3 January 2020.
- ↑ "NASA – NSSDCA – Spacecraft – Details". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 June 2022. สืบค้นเมื่อ 10 June 2022.
- ↑ Sharmila Kuthunur (23 สิงหาคม 2023). "India on the moon! Chandrayaan-3 becomes 1st probe to land near lunar south pole". Space.com (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 สิงหาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2023.
- ↑ Kumar, Sanjay (23 August 2023). "India makes history by landing spacecraft near Moon's south pole". Science.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 August 2023. สืบค้นเมื่อ 24 August 2023.
- ↑ "Chandrayaan-3 launch on 14 July, lunar landing on 23 or 24 August". The Hindu (ภาษาอังกฤษ). 6 กรกฎาคม 2023. ISSN 0971-751X. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 กรกฎาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2023.
- ↑ "India lands spacecraft near south pole of moon in historic first". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 August 2023. สืบค้นเมื่อ 23 August 2023.