ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก่

"บิกโฟร์": (จากซ้ายไปขวา) เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส) และ วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ) ในแวร์ซาย
ประมุขหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร, แรมง ปวงกาเร แห่งฝรั่งเศส, จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย, พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี, สมเด็จพระจักรพรรดิโยชิฮิโตะ แห่งญี่ปุ่น และ วูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐ
แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีน้ำเงินคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง
ผู้นำหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ), ฮาระ ทากาชิ (ญี่ปุ่น) และนิโคไล โกลิตสิน (รัสเซีย)

รัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย แก้

 
สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (ขวา) และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย (ซ้าย) ในปี ค.ศ. 1913[1]

สหราชอาณาจักร จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ แก้

  สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ แก้

 
เดวิด ลอยด์ จอร์จ, นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

  เครือรัฐออสเตรเลีย แก้

  แคนาดา แก้

 
โรเบิร์ต บอร์เดน, นายกรัฐมนตรีแคนาดา

  บริติชอินเดีย แก้

  • Charles Hardinge – อุปราชแห่งอินเดีย (1910–1916)
  • Frederic Thesiger – อุปราชแห่งอินเดีย (1916–1921)

  สหภาพแอฟริกาใต้ แก้

  นิวซีแลนด์ แก้

  นิวฟันด์แลนด์ แก้

  • Sir Edward Morris – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1909–1917)
  • Sir John Crosbie – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1917–1918)
  • Sir William Lloyd – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1918–1919)

ฝรั่งเศส สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 แก้

 
ฌอร์ฌ เกลม็องโซ, นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส
  • แรมง ปวงกาเร – ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
  • René Viviani – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (13 มิถุนายน 1914 - 29 ตุลาคม 1915)
  • Aristide Briand – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (29 ตุลาคม 1915 - 20 มีนาคม 1917)
  • Alexandre Ribot – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (20 มีนาคม 1917 - 12 กันยายน 1917)
  • Paul Painlevé – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (12 กันยายน 1917 - 16 พฤศจิกายน 1917)
  • ฌอร์ฌ เกลม็องโซ – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 1917)
  • โฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง 13 ธันวาคม 1916)
  • โรเบิร์ต นีเวลล์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง เมษายน 1917)
  • ฟีลิป เปแต็ง – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (ตั้งแต่ เมษายน 1917)

ราชอาณาจักรอิตาลี ราชอาณาจักรอิตาลี แก้

 
พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย ราชอาณาจักรเซอร์เบีย แก้

จักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิญี่ปุ่น แก้

 
โอกูมะ ชิเงโนบุ, นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนที่ 5

ราชอาณาจักรโรมาเนีย ราชอาณาจักรโรมาเนีย แก้

สหรัฐ แก้

 
วูดโรว์ วิลสัน, ประธานาธิบดีสหรัฐ

โปรตุเกส สาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง แก้

ไทย ราชอาณาจักรสยาม แก้

 
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร แก้

เบลเยียม ราชอาณาจักรเบลเยียม แก้

 
สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1

บราซิล สาธารณรัฐบราซิลที่ 1 แก้

ราชอาณาจักรกรีซ ราชอาณาจักรกรีซ แก้

ลักเซมเบิร์ก ราชรัฐลักเซมเบิร์ก แก้

ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน แก้

ราชอาณาจักรฮิญาซ แก้

เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์ แก้

สาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 1 แก้

สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่หนึ่ง สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1 แก้

หมายเหตุ แก้

  1. At George's wedding in 1893, The Times claimed that the crowd may have confused Nicholas with George, because their beards and dress made them look alike superficially (The Times (London) Friday, 7 July 1893, p.5). Their facial features were only different up close.

ดูเพิ่ม แก้