ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก่

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามแปซิฟิก: เจียง ไคเชก, แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิล ในการประชุมไคโร เมื่อ ค.ศ. 1943
ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ และนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิล ในการประชุมกาซาบล็องกา ค.ศ. 1943
ผู้นำสุดท้ายของฝ่ายสัมพันธมิตร: เคลเมนต์ แอตต์ลี, แฮร์รี เอส. ทรูแมน และโจเซฟ สตาลิน ในการประชุมพ็อทซ์ดัม เมื่อ ค.ศ. 1945

สหรัฐ สหรัฐ แก้

 
แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แนวรบด้านยุโรป แก้

แนวรบด้านแปซิฟิก แก้

 
พลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์

  เครือรัฐฟิลิปปินส์ แก้

  เครือรัฐเปอร์โตริโก แก้

จักรวรรดิบริติช จักรวรรดิอังกฤษและเครือจักรภพ แก้

 
สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

  สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ แก้

 
วินสตัน เชอร์ชิล
 
เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี

  เครือรัฐออสเตรเลีย แก้

  แคนาดา แก้

  นิวซีแลนด์ แก้

  สหภาพแอฟริกาใต้ แก้

  บริติชมลายา แก้

  นิวฟันด์แลนด์ แก้

  ปาเลสไตน์ในอาณัติของอังกฤษ แก้

  บริติชอินเดีย แก้

สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต แก้

 
โจเซฟ สตาลิน
  • โจเซฟ สตาลิน เป็นเลขาธิการเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในยุคสมัยของเขานี้เองที่สหภาพโซเวียตได้ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจคู่กับสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียตและมีอิทธิพลอย่างมากต่อการทำสงครามกับเยอรมนีในแนวรบด้านตะวันออก
  • วยาเชสลาฟ โมโลตอฟ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสหภาพโซเวียตระหว่างปี ค.ศ. 1939-1949
  • มิคาอิล คาลินิน เป็นผู้ที่มีอำนาจทางการเมืองมากที่สุดคนหนึ่งในสหภาพโซเวียต
 
เกออร์กี จูคอฟ

ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน แก้

 
เจียง ไคเช็ก
  • เจียง ไคเช็ค - จอมทัพและผู้นำรัฐบาลชาตินิยม (ก๊กมินตั๋ง) ของ สาธารณรัฐจีน และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งประเทศจีน
  • ซ่ง เหม่ย์หลิง - สุภาพสตรีหมายเลข 1 และเป็นภรรยาของนายพลเจียง ไคเช็ค เธอได้รวมรวมประชาชนในการต่อต้านการรุกรานของญี่ปุ่น
  • หลิน เซิน - เป็นประธาน(หรือประธานาธิบดี) แห่งรัฐบาลชาตินิยม ประมุขแห่งรัฐของจีน
  • เหอ ยิงฉิน เป็นหัวหน้าเสนาธิการทหารของสภาทหารแห่งชาติ
  • เฉิน เฉิง - เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน และนักการเมืองคนสำคัญในสภาทหารแห่งชาติ
  • ไป่ ฉงซี - เป็นพันธมิตรใกล้ชิดของขุนศึกจากกวางสีนามว่า หลี่ ซ่งเริน และรองหัวหน้าเสนาธิการทหารของสภาทหารแห่งชาติ
  • หลี่ ซ่งเริน เป็นอดีตขุนศึกจากกวางสีซึ่งต่อสู้รบร่วมกับเจียง ไคเชกในสงครามต่อต้านจีน
  • หยาน ซีซาน เป็นอดีตขุนศึกจากชานซีซึ่งต่อสู้รบร่วมกับเจียง ไคเชกในสงครามต่อต้านจีน
  • เหว่ย หลี่ฮวง เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนและผู้บัญชาการแห่งกองกำลังรบนอกประเทศของจีน
  • เซฺว เยฺว่ เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนและผู้บัญชาการแห่งภูมิภาคทหารที่เก้า
  • แคลร์ ลี เชนโนลต์ เป็นผู้บัญชาการของหน่วยพยัคฆ์บิน แต่เดิมเป็นที่ปรึกษาทางทหารของเจียงไคเช็ค
  • เหมา เจ๋อตุง - เป็นผู้นำ พรรคคอมมิวนิสต์จีน เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับกองทัพรัฐบาลในการต่อต้านทหารญี่ปุ่น
  • จูเต๋อ - เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพสายที่ 8 และเป็นผู้นำทหารระดับสูงภายในพรรคคอมมิวนิสต์จีน
  • เผิง เต๋อหวย - เป็นผู้บัญชาการทหารในช่วงการรุกร้อยกรมทหาร การรุกของคอมมิวนิสต์ขนาดใหญ่ในช่วงสงคราม

ฝรั่งเศส สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (ถึง พ.ศ. 2483) แก้

  รัฐบาลชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (  ขบวนการฝรั่งเศสเสรี) แก้

 
ชาร์ล เดอ โกล

เบลเยียม ราชอาณาจักรเบลเยียม แก้

สาธารณรัฐแห่งสหรัฐบราซิล แก้

เดนมาร์ก ราชอาณาจักรเดนมาร์ก แก้

กรีซ ราชอาณาจักรกรีซ แก้

เม็กซิโก เม็กซิโก แก้

โปแลนด์สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 (ถึง พ.ศ. 2482) แก้

  รัฐบาลลับของโปแลนด์ (รัฐลับโปแลนด์) แก้

ซาอุดีอาระเบีย ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย แก้

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย แก้

 
ยอซีป บรอซ ตีโต

เชโกสโลวาเกีย สาธารณรัฐเชโกสโลวาเกียเสรี แก้

แอลเบเนียเสรี แก้

ลักเซมเบิร์ก ราชรัฐลักเซมเบิร์ก แก้

นอร์เวย์ ราชอาณาจักรนอร์เวย์ แก้

เนเธอร์แลนด์ ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ แก้

เอธิโอเปีย จักรวรรดิเอธิโอเปีย แก้

 
สมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย

อียิปต์ ราชอาณาจักรอียิปต์ แก้

อิหร่าน รัฐจักรวรรดิแห่งอิหร่าน แก้

ไลบีเรีย สาธารณรัฐไลบีเรีย แก้

หมายเหตุ แก้

ดูเพิ่ม แก้