ธนา ชะนะบุตร
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ร้อยตำรวจโท ธนา ชะนะบุตร (ชื่อเล่น: ธนา, แมน) เป็นชาวจังหวัดขอนแก่น อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย
ข้อมูลส่วนตัว | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อเต็ม | ร้อยตำรวจโท ธนา ชะนะบุตร | ||||||||||||
วันเกิด | 6 มิถุนายน พ.ศ. 2527 | ||||||||||||
สถานที่เกิด | จ.ขอนแก่น, ประเทศไทย | ||||||||||||
ส่วนสูง | 168 ซม. | ||||||||||||
ตำแหน่ง | กองหน้า | ||||||||||||
สโมสรเยาวชน | |||||||||||||
2003–2005 | ขอนแก่น เอฟซี | ||||||||||||
สโมสรอาชีพ* | |||||||||||||
ปี | ทีม | ลงเล่น | (ประตู) | ||||||||||
2005 | ทีทีเอ็ม เอฟซี | 18 | (7) | ||||||||||
2006–2007 | บุรีรัมย์ พีอีเอ | 24 | (5) | ||||||||||
2008–2011 | พัทยา ยูไนเต็ด | 64 | (20) | ||||||||||
2008 | → ชลบุรี เอฟซี (ยืมตัว) | 11 | (2) | ||||||||||
2011 | อีสาน ยูไนเต็ด | 14 | (39) | ||||||||||
2012–2015 | เพื่อนตำรวจ | 71 | (38) | ||||||||||
2016–2018 | การท่าเรือ เอฟซี | 50 | (8) | ||||||||||
2018–2019 | หนองบัว พิชญ | 25 | (3) | ||||||||||
2019–2021 | ขอนแก่น ยูไนเต็ด | 19 | (8) | ||||||||||
2021–2022 | เมืองเลย ยูไนเต็ด | 6 | (0) | ||||||||||
ทีมชาติ | |||||||||||||
2008–2016 | ไทย | 21 | (3) | ||||||||||
จัดการทีม | |||||||||||||
2021 | อุบล ครัวนภัส | ||||||||||||
2022 | ราชประชา[1] | ||||||||||||
2023 | สมุทรปราการ ซิตี้ | ||||||||||||
2024 | ขอนแก่น ยูไนเต็ด | ||||||||||||
เกียรติประวัติ
| |||||||||||||
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น |
ธนาสร้างชื่อมาจากการเล่นในระดับภูมิภาคและได้แชมป์ ก่อนจะขึ้นมาเล่นในระดับไทยพรีเมียร์ลีก ถนัดในการเล่นลูกลากเลื้อย
ชีวิตส่วนตัว มีภรรยาชื่อ กุ๊ก มีลูกสาวด้วยกันคนหนึ่งชื่อ มินดา และเขาสามารถร้องเพลงเลียนเสียงของก้อง ห้วยไร่ ได้ ถึงขนาดที่เคยชนะเลิศการแข่งขันร้องเพลงเลียนเสียงก้อง ห้วยไร่ ในรายการกิ๊กดู๋ สงครามเพลงเงินล้าน[2] ปัจจุบันรับราชการตำรวจในตำแหน่งรองสารวัตร สภ.ภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น
เกียรติประวัติ
แก้- สโมสร
- สโมสรฟุตบอลยาสูบ ศุลกากร
- แชมป์ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2547/2548
- ระดับชาติ
- ทีมชาติไทย U-23
- ซีเกมส์ 2003 เหรียญทอง
- ซีเกมส์ 2007 เหรียญทอง
ทำประตูในนามทีมชาติ
แก้# | วันที่ | สถานที่ | พบ | ประตู | ผล | รายการ |
---|---|---|---|---|---|---|
1. | 15 มีนาคม 2551 | คุนหมิง, จีน | จีน | 3–3 | 3–3 | อุ่นเครื่อง |
2. | 12 พฤศจิกายน 2558 | กรุงเทพ, ไทย | จีนไทเป | 4–2 | 4–2 | ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย รอบที่ 2 กลุ่ม เอฟ |
2. | 7 ตุลาคม 2559 | อาบูดาบี, ยูเออี | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 1–2 | 1–3 | ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย รอบที่ 3 กลุ่ม บี |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2563 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 5 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (บ.ม.)[3]
อ้างอิง
แก้- ↑ ราชประชาตั้ง”แมทกับแมน”เป็นโค้ชคุมทีมฤดูใหม่
- ↑ "กิ๊กดู๋ : ประชันเงาเสียง ก้อง ห้วยไร่ [12 ม.ค. 59] (1/4) Full HD". กิ๊กดู๋ สงครามเพลงเงินล้าน. 2016-01-12.
{{cite web}}
:|access-date=
ต้องการ|url=
(help);|url=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นต่ำกว่าสายสะพาย ประจำปี ๒๕๖๓ เก็บถาวร 2022-08-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๓๘ ตอนพิเศษ ๓ ข หน้า ๑๐, ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๔