ซิลค์แอร์
ซิลค์แอร์ (อังกฤษ: SilkAir) เป็นสายการบินภายในภูมิภาคอันเป็นบริษัทลูกของสิงคโปร์แอร์ไลน์ มีเส้นทางบินจากสิงคโปร์ไปยัง 44 เมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินเดีย, จีน และ ออสเตรเลีย สายการบินนี้ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1975 ในชื่อ เทรดวินส์ชาร์เตอร์[2] โดยใช้เครื่องบินที่เช่ามาจากสิงคโปร์แอร์ไลน์ ต่อมาในปี 1989 เมื่อมีการเช่าเครื่องบินรุ่น แมคดอนเนลล์ดักลาส เอ็มดี-80 ก็ได้เปลี่ยนไปใช้เครื่องหมายการค้าในชื่อ เทรดวินส์แอร์ไลน์ ทำการบินไปยัง 6 จุดหมายได้แก่ บันดาร์เซอรีเบอกาวัน, พัทยา, ภูเก็ต และ กวนตัน ต่อมาในปี 1991 ก็เริ่มมีการปรับปรุงองค์กรขนานใหญ่ และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น ซิลค์แอร์
| |||||||
ก่อตั้ง | ค.ศ. 1975 (ในชื่อ เทรดวินส์ชาร์เตอร์ส) | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มดำเนินงาน | ค.ศ. 1992 | ||||||
เลิกดำเนินงาน | 28 มกราคม ค.ศ. 2021 (ผนวกเข้ากับสิงคโปร์แอร์ไลน์) | ||||||
ท่าหลัก | ท่าอากาศยานจางีสิงคโปร์ | ||||||
สะสมไมล์ | KrisFlyer | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 29 | ||||||
จุดหมาย | 51 | ||||||
บริษัทแม่ | สิงคโปร์แอร์ไลน์ | ||||||
สำนักงานใหญ่ | สิงคโปร์ | ||||||
บุคลากรหลัก | Leslie Thng (ประธานบริหาร)[1] | ||||||
รายได้ | S$902.5 ล้าน (FY 2014/15) | ||||||
รายได้จากการดำเนินงาน | S$40.8 ล้าน (FY 2014/15) | ||||||
รายได้สุทธิ | S$53.7 ล้าน (FY 2014/15) | ||||||
พนักงาน | 1,452 (2014) | ||||||
เว็บไซต์ | www.silkair.com |
ซิลค์แอร์ได้ควบรวมกิจการเข้ากับสิงคโปร์แอร์ไลน์ในวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 2021[3]
จุดหมายปลายทาง
แก้ข้อตกลงการบินร่วม
แก้ซิลค์แอร์ได้ทำข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:[4][5]
ฝูงบิน
แก้ซิลค์แอร์เคยให้บริการเครื่องบินดังต่อไปนี้:[16]
เครื่องบิน | จำนวน | เที่ยวบินแรก | ปลดระวาง | เครื่องบินทดแทน | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
แอร์บัส เอ310-200 | 2 | 1993 | 1995 | ฟอกเกอร์ 70 | เช่าจากสิงคโปร์แอร์ไลน์ |
แอร์บัส เอ319-100 | 8 | 1999 | 2021 | ไม่มี | |
แอร์บัส เอ320-200 | 19 | 1998 | 2021 | ไม่มี | |
โบอิง 737-300 | 6 | 1990 | 1999 | แอร์บัส เอ320-200 | แอร์บัส เอ320-200 |
1 | 1997 | ไม่มี | เกิดอุบัติเหตุในเที่ยวบินที่ 185 | ||
โบอิง 737-800 | 17 | 2014 | 2021 | — | โอนย้ายไปยังสิงคโปร์แอร์ไลน์ |
โบอิง 737 MAX 8 | 6 | 2017 | 2021 | — | โอนย้ายไปยังสิงคโปร์แอร์ไลน์ |
ฟอกเกอร์ 70 | 2 | 1995 | 2000 | แอร์บัส เอ320-200 | จำหน่ายให้แก่เคแอลเอ็มซิตี้ฮอปเปอร์ |
แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-87 | 1 | 1989 | 1991 | โบอิง 737-300 |
อ้างอิง
แก้- ↑ "SilkAir names new chief executive". Channel NewsAsia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-30. สืบค้นเมื่อ 7 August 2012.
- ↑ http://www.silkair.com/jsp/cms/en_UK/mi_global_footer/our-heritage.jsp
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-27. สืบค้นเมื่อ 2022-04-23.
- ↑ "Profile on SilkAir". CAPA. Centre for Aviation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-29. สืบค้นเมื่อ 2016-10-29.
- ↑ "Partner Airlines". SilkAir. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 February 2019.
- ↑ "Singapore Airlines And SilkAir To Codeshare With Air China". Singapore Airlines. 29 March 2016.
- ↑ "SilkAir - Co-operation partners - The Airpoints™ programme - Airpoints™ | Air New Zealand". Air New Zealand. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-15. สืบค้นเมื่อ 2022-04-23.
- ↑ "Bangkok Airways and SilkAir Announce Codeshare Agreement". Mynewsdesk (ภาษาอังกฤษ). 14 February 2012.
- ↑ "Singapore Airlines And SilkAir To Codeshare With Fiji Airways". Singapore Airlines. 17 April 2018.
- ↑ "Singapore Airlines and Silkair to Codeshare with Fiji Airways". Fiji Airways. 17 April 2018.
- ↑ "Singapore Airlines And Garuda Indonesia Expand Codeshare Operations". Singapore Airlines. 15 April 2019.
- ↑ "SilkAir to codeshare with Lao Airlines". Mynewsdesk (ภาษาอังกฤษ). 27 July 2016.
- ↑ "Malaysia Airlines And Singapore Airlines Sign Wide-Ranging Partnership Agreement". Singapore Airlines. 30 October 2019.
- ↑ "SIA, SilkAir And Shenzhen Airlines Sign Codeshare Agreement". Singapore Airlines. 20 May 2013.
- ↑ "Singapore Airlines And SilkAir To Codeshare On Vistara Flights". Singapore Airlines. 14 March 2017.
- ↑ "Civil Aviation Authority of Singapore". www.caas.gov.sg. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-05. สืบค้นเมื่อ 2022-04-23.