พ.ศ. 2023
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1480)
พุทธศักราช 2023 ใกล้เคียงกับ ค.ศ. 1480 - ค.ศ. 1481
- ค.ศ. 1480 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินจูเลียน
- ค.ศ. 1481 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน
- มหาศักราช 1402
- ปีชวด โทศก จุลศักราช 842 (วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันเถลิงศก)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2022–2023 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1480 MCDLXXX |
Ab urbe condita | 2233 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 929 ԹՎ ՋԻԹ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6230 |
ปฏิทินศกบาหลี | 1401–1402 |
ปฏิทินเบงกอล | 886–887 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2430 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 19 Edw. 4 – 20 Edw. 4 |
พุทธศักราช | 2024 |
ปฏิทินพม่า | 842 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 6988–6989 |
ปฏิทินจีน | 己亥年 (กุนธาตุดิน) 4177 หรือ 3970 — ถึง — 庚子年 (ชวดธาตุโลหะ) 4178 หรือ 3971 |
ปฏิทินคอปติก | 1196–1197 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 2646 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1472–1473 |
ปฏิทินฮีบรู | 5240–5241 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1536–1537 |
- ศกสมวัต | 1401–1402 |
- กลียุค | 4581–4582 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11480 |
ปฏิทินอิกโบ | 480–481 |
ปฏิทินอิหร่าน | 858–859 |
ปฏิทินอิสลาม | 884–885 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | บุมเม 12 (文明12年) |
ปฏิทินชวา | 1396–1397 |
ปฏิทินจูเลียน | 1480 MCDLXXX |
ปฏิทินเกาหลี | 3813 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 432 ก่อน ROC 民前432年 |
ปฏิทินนานักชาฮี | 12 |
ปฏิทินทิเบต | 阴土猪年 (ธาตุดินเพศเมีย-กุน) 1606 หรือ 1225 หรือ 453 — ถึง — 阳金鼠年 (ธาตุโลหะเพศผู้-ชวด) 1607 หรือ 1226 หรือ 454 |
ผู้นำ
แก้เหตุการณ์
แก้มกราคม–ธันวาคม
แก้- 6 มีนาคม – สนธิสัญญาโตเลโด: เฟร์นันโดและอิซาเบลแห่งสเปนรับรองการพิชิตแอฟริกาของพระเจ้าอาฟงซูที่ 5 แห่งโปรตุเกส และพระองค์ยกหมู่เกาะกานาเรียสให้สเปน (ดูสนธิสัญญา Alcáçovas)[1]
- 28 กรกฎาคม
- สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 ไม่สามารถเข้ายึดเกาะโรดส์จากคณะอัศวินบริบาลโรดส์
- กองทัพออตโตมันลงจากเรือใกล้ออตรันโต ประเทศอิตาลี สมเด็จพระสันตะปาปาซิกส์ตุสที่ 4 ทรงเรียกให้ทำครูเสดเพื่อขับพวกนั้นออกไป
- 27 กันยายน – พระเจ้าเฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอนและสมเด็จพระราชินีนาถอิซาเบลที่ 1 แห่งกัสติยา ริเริ่มการไต่สวนศรัทธาของสเปน (ตามหาพวกนิกรีตและชาวยิวที่ยังไม่เปลัี่ยนศาสนา)
ไม่ทราบวันที่
แก้- ซากสุดท้ายของประภาคารแห่งอเล็กซานเดรียหายสาบสูญเมื่อกอยต์บาย สุลต่านแห่งอียิปต์ สร้างป้อมปราการกอยต์บายบนพื้นที่นั้น
วันเกิด
แก้- 18 เมษายน – ลูแกรตซีอา บอร์จา ดัชเชสแฟร์รารา (เสียชีวิต ค.ศ. 1519)[2]
- 10 พฤศจิกายน – บริจิตแห่งยอร์ก แม่ชีชาวอังกฤษ (เสียชีวิต ค.ศ. 1517)[3]
- ไม่ทราบวันที่
- โกลด การามง ผู้ตีพิมพ์ชาวฝรั่งเศส (เสียชีวิต ค.ศ. 1561)
- เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน นักสำรวจชาวโปรตุเกส (ถึงแก่กรรม ค.ศ. 1521)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 6 มิถุนายน – เวกกีเอตตา จิตรกร ประติมากร และสถาปนิกชาวอิตาลี (เกิด ป. ค.ศ. 1410)[4]
- 10 กรกฎาคม – เรอเนแห่งอ็องฌู พระมหากษัตริย์เนเปิลส์ (พระราชสมภพ ค.ศ. 1409)[5]
อ้างอิง
แก้- ↑ John William Blake (1942). Europeans in West Africa, 1450-1560. Hakluyt Society. p. 198.
- ↑ Hourihane, Colum (2012). The Grove Encyclopedia of Medieval Art and Architecture (ภาษาอังกฤษ). OUP USA. p. 396. ISBN 9780195395365.
- ↑ Levin, Carole; Bertolet, Anna Riehl; Carney, Jo Eldridge (2016). A Biographical Encyclopedia of Early Modern Englishwomen: Exemplary Lives and Memorable Acts, 1500-1650 (ภาษาอังกฤษ). Taylor & Francis. p. 276. ISBN 9781315440712.
- ↑ Sir John Wyndham Pope-Hennessy (1986). Italian Renaissance Sculpture. Phaidon. p. 208. ISBN 978-0-7148-2416-1.
- ↑ "René I | duke of Anjou". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 10 May 2019.