คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งเอเชีย

คณะกรรมการพาราลิมปิกเอเชีย (อังกฤษ: Asian Paralympic Committee; APC) เป็นองค์กรที่ตั้งอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีสมาชิกของคณะกรรมการพาราลิมปิกเอเชียทั้งหมด 43 ประเทศ

คณะกรรมการพาราลิมปิกเอเชีย
ประเภทสหพันธ์กีฬา
สมาชิก
43 ประเทศคณะกรรมการพาราลิมปิก
ประธาน
มาจิด ราเซด
เว็บไซต์asianparalympic.org

ประวัติ แก้

คณะกรรมการพาราลิมปิกเอเชียที่ถูกสร้างขึ้นในปี 2006 เมื่อสหพันธ์เฟสปิกถูกแบ่งออกเป็นสองหน่วยงานคือคณะกรรมการพาราลิมปิกเอเชียและคณะกรรมการพาราลิมปิกโอเชียเนีย (Oceania Paralympic Commit; OPC)[1][2]

ชาติสมาชิก แก้

ประเทศ รหัส คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ก่อตั้งเมื่อ อ้างอิง
  อัฟกานิสถาน AFG คณะกรรมการพาราลิมปิกอัฟกานิสถาน [3]
  บาห์เรน BRN คณะกรรมการพาราลิมปิกบาห์เรนและสหพันธ์กีฬาพิการบาห์เรน [3]
  บังกลาเทศ BAN คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติบังกลาเทศ [3]
  บรูไน BRU สภาพาราลิมปิกแห่งชาติบรูไนดารุสซาลาม [3]
  กัมพูชา CAM คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติกัมพูชา [3]
  จีน CHN คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติจีน [3]
  จีนไทเป TPE คณะกรรมการพาราลิมปิกจีนไทเป [3]
  ฮ่องกง HKG คณะกรรมการพาราลิมปิกฮ่องกงและสมาคมกีฬาสำหรับคนพิการทางร่างกาย [3]
  อินเดีย IND คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งอินเดีย [3]
  อินโดนีเซีย INA คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติอินโดนีเซีย [3]
  อิหร่าน IRI คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน [3]
  อิรัก IRQ คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติอิรัก [3]
  ญี่ปุ่น JPN คณะกรรมการพาราลิมปิกญี่ปุ่น [3]
  จอร์แดน JOR คณะกรรมการพาราลิมปิกจอร์แดน [3]
  คาซัคสถาน KAZ คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติคาซัคสถาน [3]
  เกาหลีใต้ KOR คณะกรรมการพาราลิมปิกเกาหลี [3]
  คูเวต KUW คณะกรรมการพาราลิมปิกคูเวต [3]
  คีร์กีซสถาน KGZ สหพันธ์พาราลิมปิกสาธารณรัฐคีร์กีซสถาน [3]
  ลาว LAO คณะกรรมการพาราลิมปิกลาว [3]
  เลบานอน LIB คณะกรรมการพาราลิมปิกเลบานอน [3]
  มาเก๊า MAC สมาคมกีฬาคนพิการมาเก๊า [3]
  มาเลเซีย MAS สภาพาราลิมปิกแห่งชาติมาเลเซีย [3]
  มองโกเลีย MGL คณะกรรมการพาราลิมปิกมองโกเลีย [3]
  พม่า MYA คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติพม่า [3]
  เนปาล NEP คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติเนปาล [3]
  โอมาน OMA คณะกรรมการพาราลิมปิกโอมาน [3]
  ปากีสถาน PAK คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติปากีสถาน [3]
  ปาเลสไตน์ PLE คณะกรรมการพาราลิมปิกปาเลสไตน์ [3]
  ฟิลิปปินส์ PHI สมาคมกีฬาคนพิการฟิลิปปินส์ [3]
  กาตาร์ QAT คณะกรรมการพาราลิมปิกกาตาร์ [3]
  ซาอุดีอาระเบีย KSA คณะกรรมการพาราลิมปิกซาอุดีอาระเบีย [3]
  สิงคโปร์ SIN สภาพาราลิมปิกแห่งชาติสิงคโปร์ [3]
  ศรีลังกา SRI สหพันธ์แห่งชาติกีฬาคนพิการ [3]
  ซีเรีย SYR คณะกรรมการพาราลิมปิกซีเรีย [3]
  ทาจิกิสถาน TJK คณะกรรมการพาราลิมปิกทาจิกิสถาน [3]
  ไทย THA คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งประเทศไทย [3]
  ติมอร์-เลสเต TLS คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติติมอร์-เลสเต [3]
  เติร์กเมนิสถาน TKM คณะกรรมการพาราลิมปิกแห่งชาติเติร์กเมนิสถาน [3]
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ UAE คณะกรรมการพาราลิมปิกสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ [3]
  อุซเบกิสถาน UZB สมาคมพาราลิมปิกแห่งชาติอุซเบกิสถาน [3]
  เวียดนาม VIE สมาคมพาราลิมปิกเวียดนาม [3]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้