เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 เป็นการแข่งขันฟุตบอลในถ้วยสูงสุดของสโมสรในเอเชียโดยมีสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี)เป็นผู้ควบคุมการแข่งขัน, และนับเป็นครั้งที่ 10 ผ่านใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก สโมสรที่ชนะเลิศมีสิทธิ์เข้าร่วม ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2012
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
วันที่ | 10 กุมภาพันธ์ – 10 พฤศจิกายน 2555 |
ทีม | 37 (จาก 11 สมาคม) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | อุลซันฮุนได (สมัยที่ 1st) |
รองชนะเลิศ | อัลอะฮ์ลี |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 122 |
จำนวนประตู | 352 (2.89 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 1,587,472 (13,012 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ริคาร์โด้ โอลิเวร่า (12 ประตู)[1] |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ลี คุน-โฮ[2] |
การจัดสรรของทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน
แก้สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ได้อนุมัติหลักเกณฑ์การสโมสรเข้าร่วมในการแข่งขันฤดูกาล 2011 และ 2012[3] วันที่ตัดสินใจขั้นสุดท้ายถูกจัดตั้งหลังการประชุมคณะกรรมการบริหารในพฤศจิกายน 2553 [4]
30 พฤศจิกายน 2552 เอเอฟซีได้มีการพัฒนามาตรฐานใหม่ในการจัดสรรของทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน , สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ประกาศเพิ่มเติมประเทศสมาชิกกว่า 12 ชาติ (สิงคโปร์ภายหลังถอนตัวออกรายการ) และ 10 ประเทศ มีสิทธิที่จะเข้าร่วมประเทศร่วมกันในการแข่งขันในเอเอฟซีคัพ ที่ระบุด้านล่างสำหรับแต่ละรายการ::
- โซนเอเชียตะวันออก
- ได้รับสิทธิ์เข้าร่มอยู่ก่อนแล้ว: ออสเตรเลีย, จีน, อินโดนีเซีย, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้
- พิจารณาเพิ่มเติม: มาเลเซีย, พม่า, ไทย
- ถอนตัว: สิงคโปร์ [5]
- โดนตัดสิทธิ์: เวียดนาม [6]
- โซนเอเชียตะวันตก
- ได้รับสิทธิ์เข้าร่มอยู่ก่อนแล้ว: อิหร่าน, กาตาร์, ซาอุดิอาระเบีย, ยูเออี, อุซเบกิสถาน
- พิจารณาเพิ่มเติม: อินเดีย, อิรัก, จอร์แดน, โอมาน, ปากีสถาน, ปาเลสไตน์, ทาจิกิสถาน , เยเมน
หมายเหตุ: สโมสรจากอินเดีย, สิงคโปร์, ไทยและเวียดนามมีสิทธิ์ร่วมในรอบคัดเลือกเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกปี 2010
จำนวนสิทธิ์ของแต่ละสมาคมจากชาติสมาชิก
แก้การประเมินสำหรับเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 | |
---|---|
ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด | |
ผ่านเกณฑ์บางส่วน | |
ไม่ผ่านเกณฑ์ |
- การประเมินระดับคุณภาพรอบสุดท้ายของเอเอฟซี สำหรับฤดูกาล 2009–2012 [7]
|
|
- หมายเหตุ
- [ก] รอบแบ่งกลุ่มจะมีหนึ่งทีมจากอุซเบกิสถานถูกให้อยู่กลุ่มโซนเอเชียตะวันออก..[8]
- [ข] หนึ่งสโมสรจาก เค-ลีก คือ ชางจู ชางมู ฟินิกซ์ไม่มีสิทธิ์เข้าร่วม ACL เพราะทีมไม่ได้เป็นนิติบุคคลเชิงพาณิชย์และไม่มีนักฟุตบอลอาชีพ[6]
- [ค] สโมสรจากจีนมีสิทธิ์ลงแข่งขันรอบคัดเลือก, แต่ เหลียวหนิง หว่านต๋า, ซึ่งเป็นทีมอันดับจาก ไชน่าซุปเปอร์ลีก ฤดูกาล 2011,ไม่เข้าร่วมการแข่งขัน.[9] ดังนั้นจึงเหลือเพียง 4 ทีมเท่านั้นที่เข้าร่วมรอบคัดเลือกในโซนตะวันออก
- [ง] หนึ่งสโมสรจากเอ-ลีก คือ เวลลิงตัน ฟินิกซ์เป็นสโมสรในประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งเป็นประเทศชาตสมาชิก โอเอฟซี ไม่มีสิทธิ์เข้าร่วม ACL[10]
- [จ] จากรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 (หน้า8) [11] มี 15 ทีมจากรายการ อินโดนีเซียซุปเปอร์(ISL) 2010/11 ทีมีสิทธิ์ และอีก 13 ทีมจากอินโดนีเซีย พรีเมียร์ลีกส์(IPL)2010/11 เป็นการลีกสูงสุด ที่ จัดโดยสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย โดยทีรายการ ISL ไม่ใช้รายภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย
ทีมที่มีสิทธิ์
แก้มีทั้งหมด 37 ทีมที่เข้าร่วมในการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012[11]
- 28 ทีม(14 ทีมจากโซนเอเชียตะวันตก, 14 ทีมจากโซนเอเชียตะวันออก) ผ่านเข้าสุ่รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ.
- 9 ทีม (5 ทีมจากโซนเอเชียตะวันตก, 4 ทีมจากโซนเอเชียตะวันออก) ต้องลเล่นในรอบคัดเลือก, เพื่อคัดเลือกเอา 4 ทีมเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่ม (2 ทีมจากโซนเอเชียตะวันตก, 2 ทีมจากโซนเอเชียตะวันออก) โดยจะแบ่งเป็น 2 รอบ ทีมที่แพ้ในรอบที่สองจะได้สิทธิ์ไปเล่นเอเอฟซีคัพ 2012 แทน
|
|
- หมายเหตุ
- * เริ่มนับหลังจากเปลี่ยนชื่อมาเป็น เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ใน 2002/03
- † บุนยอดกอร์ (อุซเบกิสถาน) ถูกย้ายมาอยูในโซนเอเชียตะวันออก[8]
- ‡ เปอร์ซิปุระ จายาปุระ ในตอนแรกไม่มีได้สิทธิ์ให้เข้าร่วม เอเอฟซี แต่หลังจากฟ้องศาลกีฬาโลกแล้ว มีคำตัดสินออกมาให้วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555 ให้ทางเอเอฟซี คืนให้สิทธิให้แก่สโมสร[12]
- อัล คูเวต (คูเวต), รองชนะเลิศ เอเอฟซี คัพ 2011ไม่สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยเอเอฟซีที่จะแข่งขันในเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2012 ได้ จึงต้องไปเล่นเอเอฟซีคัพ 2012 แทน, นาซาฟ การ์ชิ (อุซเบกิสถาน), รองชนะเลิศ เอเอฟซี คัพ 2011, ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มอัตโนมัติเพราะได้สิทธิ์จากลีกอยู่ก่อนแล้ว[11]
ตารางการแข่ง
แก้ตารางการแข่งในฤดูกาล 2012 [13]
Phase | รอบ | วันจับฉลาก | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
รอบคัดเลือก | รอแรก | 6 ธันวาคม 2554 (กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย) [14] |
11–12 กุมภาพันธ์ 2555 | |
รอบสุดท้า | 18 กุมภาพันธ์ 2555 | |||
รอบแบ่งกลุ่ม | นัดที่ 1 | 6–7 มีนาคม 2555 | ||
นัดที่ 2 | 20–21 มีนาคม 2555 | |||
นัดที่ 3 | 3–4 เมษายน 2555 | |||
นัดที่ 4 | 17–18 เมษายน 2555 | |||
นัดที่ 5 | 1–2 พฤษภาคม 2555 | |||
นัดที่ 6 | 15–16 พฤษภาคม 2555 | |||
รอบน๊อกเอาท์ | รอบ 16 ทีมสุดท้าย | 29–30 พฤษภาคม 2555 | ||
รอบก่อนรองชนะเลิศ | ยังไม่กำหนด | 19 กันยายน 2555 | 2–3 ตุลาคม 2555 | |
รอบรองชนะเลิศ | 24 ตุลาคม 2555 | 31 ตุลาคม 2555 | ||
รอบชิงชนะเลิศ | 9 หรือ 10 พฤศจิกายน 2555 เล่นที่สนามของทีมใดทีมหนึ่งเพียงนัดเดียว |
รอบคัดเลือก
แก้เอเชียตะวันตก
แก้วันที่ | ทีมเหย้า | ผล | ทีมเยือน |
---|---|---|---|
รอบแรก | |||
10 กุมภาพันธ์ 2555 | เอสเตห์กาล | 2 – 0 | ซบ อฮัน |
รอบสุดท้าย | |||
18 กุมภาพันธ์ 2555 | อัล ชาบับ | 3– 0 | เนฟชิ เฟอร์กาน่า |
18 กุมภาพันธ์ 2555 | เอสเตห์กาล | 3 – 1 | อัล อิตติฟาค |
เอเชียตะวันออก
แก้วันที่ | ทีมเหย้า | ผล | ทีมเยือน |
---|---|---|---|
รอบสุดท้าย | |||
18 กุมภาพันธ์ 2555 | โปฮัง สตีลเลอส์ | 2– 0 | ชลบุรี |
16 กุมภาพันธ์ 2555 | แอดิเลด ยูไนเต็ด | 3– 0 | เปอร์ซิปุระ จายาปุระ |
รอบแบ่งกลุ่ม
แก้กลุ่ม A
แก้
|
|
กลุ่ม B
แก้
|
|
กลุ่ม C
แก้
|
|
กลุ่ม D
แก้
|
|
กลุ่ม E
แก้
|
|
กลุ่ม F
แก้
|
|
กลุ่ม G
แก้
|
|
กลุ่ม H
แก้
|
|
รอบน๊อกเอาท์
แก้รอบ 16 ทีมสุดท้าย
แก้รอบ 8 ทีมสุดท้าย
แก้ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
อัล อิตติฮัด | 5–4 | กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ | 4–2 | 1–2 |
เซปาฮาน | 1–4 | อัลอะฮ์ลี | 0–0 | 1–4 |
แอดิเลด ยูไนเต็ด | 4–5 | บุนยอดกอร์ | 2–2 | 2–3 (ต่อเวลา) |
อุลซันฮุนได | 5–0 | อัล ฮิลาล | 1–0 | 4–0 |
รอบ 4 ทีมสุดท้าย
แก้ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
อัล อิตติฮัด | 1–2 | อัลอะฮ์ลี | 1–0 | 0–2 |
บุนยอดกอร์ | 1–5 | อุลซันฮุนได | 1–3 | 0–2 |
รอบชิงชนะเลิศ
แก้The final of the 2012 AFC Champions League was hosted by one of the finalists, decided by a draw.[15] According to the draw on 14 June 2012, the winner of semi-final 2 would host the final.[16] Therefore, Ulsan Hyundai was the home team.
อุลซันฮุนได | 3–0 | อัลอะฮ์ลี |
---|---|---|
ควัก แท-ฮวี 13' ราฟินญ่า 68' คิม ซึง-ยอง 75' |
รายงาน |
ผู้ทำประตูสูงสุด
แก้อันดับ | ชื่อนักฟุตบอล | สโมสร | MD1 | MD2 | MD3 | MD4 | MD5 | MD6 | R16 | QF1 | QF2 | SF1 | SF2 | F | รวม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ริคาร์โด โอลิเวยรา | อัล จาซีรา | 1 | 1 | 1 | 3 | 4 | 2 | 12 | ||||||
2 | นาอีฟ ฮาซาซิ | อัล อิตติฮัด | 2 | 1 | 1 | 1 | 2 | 1 | 8 | ||||||
3 | ราฟินญ่า | กัมบะ โอซาก้า (GS+R16) อุลซันฮุนได (QF+SF+F) |
2 | 1 | 2 | 1 | 1 | 7 | |||||||
วิกเตอร์ ซิมูเอส | อัลอะฮ์ลี | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 7 | ||||||
5 | ดาริโอ คอนกา | กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ | 2 | 1 | 1 | 1 | 1 | 6 | |||||||
คิม ชิน-วุก | อุลซันฮุนได | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 6 | |||||||
7 | เอมอน ซาเยด | เปอร์เซโปลิส | 3 | 1 | 1 | 5 | |||||||||
บรูนู กอร์เรีย | เซปาฮาน | 1 | 1 | 1 | 1 | 1 | 5 | ||||||||
ลีเอนดรู โดมินกูส | คะชิวะ เรย์โซล | 2 | 1 | 1 | 1 | 5 | |||||||||
ยู บยุง-ซู | อัล ฮิลาล | 1 | 4 | 5 | |||||||||||
อามารา ดิอาเน | อัล นาเซอร์ | 2 | 1 | 1 | 1 | 5 |
กติกา : ประตูที่ทำสกอร์ได้ ใน รอบคัดเลือก เพลย์ออฟ ไม่นับ.[17]
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "Ricardo Oliveira takes top scorer title". AFC. 10 November 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-11-17. สืบค้นเมื่อ 2012-12-08.
- ↑ "Livewire Lee name MVP". AFC. 10 November 2012.
- ↑ "Criteria for Participation in AFC Club Competitions for 2011–2012 seasons" (PDF). AFC.
- ↑ "12 MAs keen to join ACL". AFC. 2009-11-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
- ↑ "Singapore seek to pull out of ACL". AFC. 2010-10-04.[ลิงก์เสีย]
- ↑ 6.0 6.1 "ACL slots maintained". AFC. 2010-11-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-12. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
- ↑ "Assessment and participation criteria for 2009–2010 seasons" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-09-06. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
- ↑ 8.0 8.1 "ACL 2012 slots confirmed". AFC. 2011-12-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-26. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "acl2012slots" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - ↑ "辽宁宏运足球俱乐部正式宣布退出亚冠联赛资格赛". sports.china.com (ภาษาจีน). CDC Corporation. 2011-12-02.
- ↑ Ad-hoc Committee for Professional Clubs
- ↑ 11.0 11.1 11.2 "Decision by Competitions Committee & Executive Committee for AFC Club Competitions". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-07-17. สืบค้นเมื่อ 2012-03-18.
- ↑ "FOOTBALL – PERSIPURA (INDONESIA) PROVISIONALLY REINSTATED IN THE AFC CHAMPIONS LEAGUE 2012". CAS. 2012-02-01.
- ↑ "AFC Calendar of Competitions 2012" (PDF). AFC.
- ↑ "2012 ACL, AFCC draws on Dec 6". AFC. 2011-10-18.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อregulations
- ↑ "SF2 winners to host ACL Final". AFC. 2012-06-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-17. สืบค้นเมื่อ 2012-12-08.
- ↑ "Top Scorers (qualifying play-off)". AFC.com.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Top Scorers (group stage & round of 16)". AFC.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-03. สืบค้นเมื่อ 2012-12-08.
- ↑ "Top Scorers (quarter-finals, semi-finals & final)". AFC.com.[ลิงก์เสีย]
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- AFC Champions League Official Page (อังกฤษ)