เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ เป็นการแข่งขันฟุตซอลของทีมสโมสรอาชีพจากประเทศที่เป็นสมาชิกของเอเอฟซี โดยทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจะมาจากทีมสโมสรที่ชนะเลิศ โดยในการแข่งขันแชมเปียนส์ลีกนี้จะมี 16 สโมสร จาก 10 ลีกสูงสุดของแต่ละประเทศในทวีปเอเชียเข้าร่วมแข่งขัน

เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ
ก่อตั้งพ.ศ. 2553
ภูมิภาคเอเอฟซี (เอเชีย)
จำนวนทีม16
ทีมชนะเลิศปัจจุบันญี่ปุ่น นาโงยะ โอเชี่ยน (สมัยที่ 4)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดญี่ปุ่น นาโงยะ โอเชี่ยน
(4 สมัย)
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ 2019

ทีมที่ชนะเลิศ

แก้
ปี (ค.ศ.) เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับ 3 จำนวนทีม
ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ผลการแข่งขัน อันดับที่ 4
2010[1]
รายละเอียด
 
อิสฟาฮาน
ฟูลัดมาฮาน   5–2[2]   อัลซาดด์ นะโงะยะ โอเชี่ยน   6–6 aet
(6–5) pen
  การท่าเรือ 10
2011[3]
รายละเอียด
 
โดฮา
นะโงะยะ โอเชี่ยน   3–2 aet[4]   Shahid Mansouri อัลซากาดา   4–4 aet
(4–3) pen
  อัล รายยาน 8
2012
รายละเอียด
 
คูเวตซิตี
กิติปาซานด์   2–1[5]   อาดุส นะโงะยะ โอเชี่ยน   4–1[6]   อัลรายยาน 8
2013
รายละเอียด
 
นะโงะยะ
ชลบุรีบลูเวฟ   1–1 aet
(4–1) pen[7]
  กิติปาซานด์ นะโงะยะ โอเชี่ยน   6–4[8]   เซินเจ้นหนานหลิง 8
2014
รายละเอียด
 
เฉิงตู[9]
นะโงะยะ โอเชี่ยน   5–4 aet   ชลบุรีบลูเวฟ Dabiri Tabriz   5–5 aet
(7–6) pen
  Shenzhen Nanling 8
2015
รายละเอียด
 
อิสฟาฮาน[10]
Tasisat Daryaei   5–4[11]   Al-Qadsia ไท ซอน นัม   7–3   นาฟต์ อัล-วาซาต 12
2016
รายละเอียด
 
กรุงเทพมหานคร
นะโงะยะ โอเชียนส์   4–4 aet
(6–5) ลูกโทษ[12]
  นาฟต์ อัล-วาซาต ชลบุรีบลูเวฟ   6–1   ดิบบา อัล-ฮิสน์ 12
2017
รายละเอียด
 
โฮจิมินห์ ซิตี
ชลบุรีบลูเวฟ   3–2   กีตี ปาซานด์ อิสฟาฮาน ไท ซอน นัม   6–1   อัล รายยาน 14
2018
รายละเอียด
 
ยกยาการ์ตา
เมสซุนกุน   4–2   ไท ซอน นัม แบงค์ออฟเบรุต   5–3   นาฟต์ อัล-วาซาต 16


2019
รายละเอียด
 
กรุงเทพมหานคร
นาโงยะ โอเชี่ยนส์   2–0   เมสซุนกุน ไท ซอน นัม   6–4   อัลมาลิต 16
2020 ตามกำหนดเดิมที่จะจัดขึ้นใน ยูเออี, ยกเลิกเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19[13]
2021
2022
รายละเอียด
 
รอระบุ

ทีมสโมสรที่ร่วมแข่งขันเป็นครั้งแรก

แก้
ปี ส่วนทีมเข้าร่วมใหม่
2017   ทาจิกิสถาน
2014-2016 ไม่มี
2013   จีนไทเป   ฟิลิปปินส์
2012   คูเวต   พม่า   เวียดนาม  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2011   อินโดนีเชีย
2010   กาตาร์   จีน   ซาอุดีอาระเบีย   ญี่ปุ่น  ไทย   เลบานอน  ออสเตรเลีย   อิรัก   อิหร่าน   อุซเบกิสถาน

สถิติ

แก้

ตามประเทศ

แก้
ประเทศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ที่ 3 ที่ 4 รวม
  อิหร่าน 4 3 1 0 8
  ญี่ปุ่น 3 0 3 0 6
  ไทย 2 1 1 1 5
  เวียดนาม 0 1 2 0 3
  กาตาร์ 0 1 0 2 3
  อิรัก 0 1 0 2 3
  คูเวต 0 1 0 0 1
  อุซเบกิสถาน 0 1 0 0 1
  เลบานอน 0 0 2 0 2
  จีน 0 0 0 2 2

ตามสโมสร

แก้
สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีที่ชนะเลิศ ปีที่รองชนะเลิศ
  นะโงะยะ โอเชี่ยน 4 0 2011, 2014, 2016, 2019
  ชลบุรีบลูเวฟ 2 1 2013, 2017 2014
  กิติปาซานด์ 1 1 2012 2013, 2017
  ฟูลัดมาฮาน 1 0 2010
  Tasisat Daryaei 1 0 2015
  เมสซุนกุน 1 1 2018 2019
  อัลซาดด์ 0 1 2010
  Shahid Mansouri 0 1 2011
  อาดุส 0 1 2012
  Al-Qadsia 0 1 2015
  นาฟต์ อัลวาซาต 0 1 2016
  ไท ซอน นัม 0 1 2018

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "2010 edition results". AFC. สืบค้นเมื่อ 5 February 2012.
  2. Foolad Mahan 5-2 Al Sadd: Foolad champions!
  3. "2011 edition results". AFC. สืบค้นเมื่อ 5 February 2012.
  4. Nagoya Oceans crowned champions
  5. Giti Pasand win Club Futsal
  6. Nagoya Oceans 4-1 Al Rayyan
  7. "Chonburi Bluewave win Futsal Club Championship". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-09-05. สืบค้นเมื่อ 2016-02-23.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  8. Futsal Club C'ship: Nagoya Oceans 6-4 Shenzhen Nanling
  9. "Futsal development takes centrestage". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-14. สืบค้นเมื่อ 2014-11-13.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  10. "Iran to Host 2015 AFC Futsal Club Championship". persianfootball.com. สืบค้นเมื่อ 1 March 2015.
  11. Tasisat Daryaei win 2015 AFC Futsal Club Championship
  12. NAGOYA OCEANS BEAT NAFIT TO WIN AFC FUTSAL CLUB CHAMPIONSHIP TITLE
  13. "AFC Executive Committee announces updates to 2020 competitions calendar". AFC. 10 September 2020.