ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย (อังกฤษ: AFC Futsal Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตซอลในทวีปเอเชีย จัดโดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย มีการจัดการแข่งขันต่อเนื่องทุก 2 ปี โดยเริ่มการแข่งขันครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) การแข่งขันครั้งล่าสุดมีขึ้นในเดือนเมษายน พ.ศ. 2567 ที่ประเทศไทย โดยผู้ชนะคือทีมชาติอิหร่าน

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย
โล้โก้ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย
ก่อตั้ง1999; 25 ปีที่แล้ว (1999)
ภูมิภาคเอเชีย (เอเอฟซี)
จำนวนทีม16
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (13 ครั้ง)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (13 ครั้ง)
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024

ผลการแข่งขัน

แก้
ปีการแข่งขัน เจ้าภาพ ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับที่ 3
ชนะเลิศ ผล รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผล อันดับ 4
2542
รายละเอียด
 
มาเลเซีย
 
อิหร่าน
9-1  
เกาหลีใต้
 
คาซัคสถาน
2-2
(4-3)
ยิงลูกโทษ
 
ญี่ปุ่น
2543
รายละเอียด
 
ไทย
 
อิหร่าน
4-1  
คาซัคสถาน
 
ไทย
8-6  
ญี่ปุ่น
2544
รายละเอียด
 
อิหร่าน
 
อิหร่าน
9-0  
อุซเบกิสถาน
 
เกาหลีใต้
2-1  
ญี่ปุ่น
2545
รายละเอียด
 
อินโดนีเซีย
 
อิหร่าน
6-0  
ญี่ปุ่น
 
ไทย
4-2  
เกาหลีใต้
2546
รายละเอียด
 
อิหร่าน
 
อิหร่าน
6-4  
ญี่ปุ่น
 
ไทย
8-2  
คูเวต
2547
รายละเอียด
 
ฟิลิปปินส์
 
อิหร่าน
5-3  
ญี่ปุ่น
 
ไทย
3-1  
อุซเบกิสถาน
2548
รายละเอียด
 
เวียดนาม
 
อิหร่าน
2-0  
ญี่ปุ่น
 
อุซเบกิสถาน
[1]  
คีร์กีซสถาน
2549
รายละเอียด
 
อุซเบกิสถาน
 
ญี่ปุ่น
5-1  
อุซเบกิสถาน
 
อิหร่าน
5-3  
คีร์กีซสถาน
2550
รายละเอียด
 
ญี่ปุ่น
 
อิหร่าน
4-1  
ญี่ปุ่น
 
อุซเบกิสถาน
5-3  
คีร์กีซสถาน
2551
รายละเอียด
 
ไทย
 
อิหร่าน
4-0  
ไทย
 
ญี่ปุ่น
5-3  
จีน
2553
รายละเอียด
 
อุซเบกิสถาน
 
อิหร่าน
8-3  
อุซเบกิสถาน
 
ญี่ปุ่น
6-1  
จีน
2555
รายละเอียด
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
 
ญี่ปุ่น
6–1  
ไทย
 
อิหร่าน
4–0  
ออสเตรเลีย
2557
รายละเอียด
 
เวียดนาม
 
ญี่ปุ่น
2–2
(3-0)
ยิงลูกโทษ
 
อิหร่าน
 
อุซเบกิสถาน
2–1  
คูเวต
2559
รายละเอียด
 
อุซเบกิสถาน
 
อิหร่าน
2-1  
อุซเบกิสถาน
 
ไทย
8–0  
เวียดนาม
2561
รายละเอียด
 
จีนไทเป
 
อิหร่าน
4–0  
ญี่ปุ่น
 
อุซเบกิสถาน
4–4
(2–1) pen
 
อิรัก
2563
รายละเอียด
 
คูเวต
ยกเลิกเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 [2]
2565
รายละเอียด
 
คูเวต
 
ญี่ปุ่น
3–2  
อิหร่าน
 
อุซเบกิสถาน
8–2  
ไทย
2567
รายละเอียด
 
ไทย
 
อิหร่าน
4–1  
ไทย
 
อุซเบกิสถาน
5–5
(3–1) pen
 
ทาจิกิสถาน


สรุปเหรียญรางวัล (1999-2024)

แก้
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  อิหร่าน132217
2  ญี่ปุ่น46212
3  อุซเบกิสถาน04610
4  ไทย0358
5  คาซัคสถาน0112
  เกาหลีใต้0112
รวม (6 ประเทศ)17171751

ความสำเร็จแยกตามประเทศ

แก้
อันดับ ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับ 3 อันดับ 4 ท็อป 4
1   อิหร่าน 13 (1999, 2000, 2001*, 2002, 2003*, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018, 2024) 2 (2014, 2022) 2 (2006, 2012) 17
2   ญี่ปุ่น 4 (2006, 2012, 2014, 2022) 6 (2002, 2003, 2004, 2005, 2007*, 2018) 2 (2008, 2010) 3 (1999, 2000, 2001) 15
3   อุซเบกิสถาน 4 (2001, 2006*, 2010*, 2016*) 6 (2005, 2007, 2014, 2018, 2022, 2024) 1 (2004) 11
4   ไทย 3 (2008*, 2012, 2024) 5 (2000*, 2002, 2003, 2004, 2016) 1 (2022) 9
5   เกาหลีใต้ 1 (1999) 1 (2001) 1 (2002) 3
6   คาซัคสถาน 1 (2000) 1 (1999) 2
7   คีร์กีซสถาน 1 (2005) 2 (2006, 2007) 3
8   จีน 2 (2008, 2010) 2
  คูเวต 2 (2003, 2014) 2
10   ออสเตรเลีย 1 (2012) 1
11   เวียดนาม 1 (2016) 1
12   อิรัก 1 (2018) 1
13   ทาจิกิสถาน 1 (2024) 1

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. ไม่มีการแข่งขันชิงอันดับ 3
  2. Latest update on AFC Competitions in 2021, Asian Football Confederation official website, 25 January 2021

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้