เอียน[3] ในภาษาจีนกลางเรียกว่า เยียน (จีน: ; พินอิน: Yān) เป็นรัฐจีนที่มีอยู่ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 237 ถึงกันยายน ค.ศ. 238 ในคาบสมุทรเหลียวตง (เลียวตั๋ง) ในยุคสามก๊กของจีน[1][4] เดิมเป็นเขตปกครองอิสระที่ปกครองโดยกงซุน ตู้และกองซุนของบุตรชายตั้งแต่ ค.ศ. 190 ถึง ค.ศ. 237 แม้ว่ารัฐเอียนเพิ่งจะประกาศตั้งตนเป็นอิสระในปี ค.ศ. 237 แต่นักประวัติศาสตร์เช่นหวาง จ้งชู (王仲殊) และโหว เทา (侯涛) ถือว่าบริเวณนี้เป็นเขตปกครองอิสระโดยพฤตินัยตั้งแต่เมื่อกงซุน ตู้สถาปนาการปกครองในเลียวตั๋งในปี ค.ศ. 190[5][6] แม้ว่ารัฐเอียนอยู่ในยุคสามก๊ก แต่ไม่ถูกนับรวมกับรัฐทั้งสามอันเป็นที่มาของชื่อยุคคือวุยก๊ก จ๊กก๊ก และง่อก๊ก อย่างไรก็ตาม นักเขียนบางคนเช่น คัง โหย่วเหวย์ (康有為) ถือว่ารัฐเอียนเป็น "ก๊กที่สี่"[7]

เอียน (เยียน)

ค.ศ. 237–ค.ศ. 238
อาณาเขตของรัฐเอียน ได้แก่ เมืองเลียวตั๋ง (遼東 เหลียวตง), เซฺวียนถู (玄菟), เล่อล่าง (樂浪) และไต้ฟาง (帶方)
สถานะรัฐ
เมืองหลวงเซียงเป๋ง[1]
การปกครองราชาธิปไตย
อ๋อง 
• ค.ศ. 237–238
กองซุนเอี๋ยน
ประวัติศาสตร์ 
• ก่อตั้ง
กรกฎาคม ค.ศ. 237
• ประกาศขึ้นกับง่อก๊กอย่างเป็นทางการ
มกราคม ค.ศ. 238
• ถูกโจมตีโดยสุมาอี้
มิถุนายน ค.ศ. 238
• ล่มสลาย
29 กันยายน ค.ศ. 238
ประชากร
• ค.ศ. 237
ประมาณ 300,000 คน[2]
ก่อนหน้า
ถัดไป
วุยก๊ก
วุยก๊ก
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศจีน
ลำดับการเปลี่ยนแปลงของอาณาเขตในยุคสามก๊กตามช่วงเวลา รัฐเอียนดำรงอยู่เพียงระยะเวลาสั้น ๆ แม้ว่าภูมิภาคนั้นจะถูกปกครองโดยตระกูลกองซุนมาหลายทศวรรษก่อนถูกพิชิตในปี ค.ศ. 238

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 原遙平 (2018-10-23). 圖解三國時代 更新版 (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). 易博士. p. 89. ISBN 978-986-480-064-3.
  2. 金鑠. "漢族之發展與東北之開闢" (PDF). Cheng Kung journal of historical studies. สืบค้นเมื่อ 2020-04-21.[ลิงก์เสีย]
  3. ("กองซุนเอี๋ยนบุตรก๋งซุนของเจ้าเมืองเสียวตั๋งคิดขบถ ยกตัวเปนเจ้าเอียนอ๋อง ตั้งแต่งขุนนางขึ้นเปนอันมาก ให้สร้างเวียงวังค่ายคูประตูหอรบไว้เปนมั่นคง แล้วซ่องสุมทแกล้วทหารได้ร้อยหมื่นจะยกมาตีเมืองลกเอี๋ยง") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๙". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ November 18, 2023.
  4. Ikeuchi, pp. 87–88
  5. Wang, Zhongshu (2005). 中日两国考古学, 古代史论文集 (ภาษาจีน). 科学出版社. p. 315. ISBN 9787030161062.
  6. 侯涛 (2011). "三国演义其实是四国争霸". 当代人:下半月 (1): 79–81.
  7. Kang, Youwei (2013-10-21). 歐洲十一國遊記二種 (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). 群出版. p. 98.

บรรณานุกรม แก้

  • Ikeuchi, Hiroshi. "A Study on Lo-lang and Tai-fang, Ancient Chinese prefectures in Korean Peninsula". Memoirs of the Research Department of the Toyo Bunko 5 (1930). 79–95.
  • Gardiner, K.H.J. "The Kung-sun Warlords of Liao-tung (189–238)". Papers on Far Eastern History 5 (Canberra, March 1972). 59–107.
  • Gardiner, K.H.J. "The Kung-sun Warlords of Liao-tung (189–238) – Continued". Papers on Far Eastern History 6 (Canberra, September 1972). 141–201.
  • Byington, Mark E. "Control or Conquer? Koguryǒ's Relations with States and Peoples in Manchuria," Journal of Northeast Asian History volume 4, number 1 (June 2007): 83–117.