สนั่น ทั่วทิพย์
พลอากาศเอก สนั่น ทั่วทิพย์ หรือ บิ๊กหนั่น[3] (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482 – 28 มิถุนายน พ.ศ. 2566) เป็นอดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ[4] ที่เคยเข้าปฏิบัติการในสงครามเวียดนาม ตลอดจนเป็นหนึ่งในผู้ส่งทหารเข้าร่วมการรักษาสันติภาพติมอร์ตะวันออก เพื่อความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ภายใต้กรอบแห่งสหประชาชาติ[1]
สนั่น ทั่วทิพย์ | |
---|---|
![]() | |
ผู้บัญชาการทหารอากาศ | |
ดำรงตำแหน่ง พ.ศ. 2542 – พ.ศ. 2543 | |
นายกรัฐมนตรี | ชวน หลีกภัย[1] |
ก่อนหน้า | พลอากาศเอก ธนนิตย์ เนียมทันต์ |
ถัดไป | พลอากาศเอก ปอง มณีศิลป์ |
ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพอากาศ | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482![]() |
เสียชีวิต | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2566 (84 ปี) โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย |
คู่สมรส | คุณหญิงทัดทรง ทั่วทิพย์ |
ศิษย์เก่า | โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์[2] |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ![]() |
สังกัด | กองทัพอากาศไทย |
ยศ | ![]() |
บังคับบัญชา | กองทัพอากาศไทย |
ผ่านศึก | สงครามเกาหลี สงครามเวียดนาม วิกฤตการณ์ติมอร์ตะวันออก พ.ศ. 2542[1] • การรักษาสันติภาพติมอร์ตะวันออก[1] |
ประวัติ
แก้พล.อ.อ. สนั่น ทั่วทิพย์ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษกองทัพอากาศ[5] และอดีตนักบินลำเลียง[6][7][8] ซึ่งภายหลัง เขาได้เป็นผู้บัญชาการทหารอากาศ ภายใต้การสนับสนุนของพล.อ. มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด[9]
นอกจากนี้ เขายังเป็นอดีตนายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์[2]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
แก้- พ.ศ. 2541 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[10]
- พ.ศ. 2537 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[11]
- พ.ศ. 2543 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 3 ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.)[12]
- พ.ศ. 2513 – เหรียญชัยสมรภูมิ การร่วมรบกับสหประชาชาติ ณ ประเทศเกาหลี (ช.ส.)[13]
- พ.ศ. 2511 – เหรียญชัยสมรภูมิ การรบ ณ สาธารณรัฐเวียดนาม (ช.ส.) (ประดับเปลวระเบิด)[14]
- พ.ศ. 2517 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[15]
- พ.ศ. 2524 – เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[16]
- พ.ศ. 2517 – เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[17]
- พ.ศ. 2527 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 4 (ภ.ป.ร.4)[18]
ต่างประเทศ
แก้- สหรัฐ :
- พ.ศ. 2544 – ลีเจียนออฟเมอริต ชั้นผู้บังคับบัญชา[19]
- สิงคโปร์ :
- พ.ศ. 2544 – เหรียญปิงกัต จาซา เกมิลัง (เท็นเทรา)[19]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 ติมอร์ตะวันออก - วารสารเอเชียพิจาร ศูนย์ศึกษาเอเชีย คณะรัฐศาสตร์
- ↑ 2.0 2.1 คณะผู้บริหารโรงเรียนเป็นตัวแทนครูเยี่ยมคารวะผู้ที่เคารพนับถือ - BRR Website - News
- ↑ 100 ปีการบินฯ ทหารอากาศ – เปิดศึกชิงเก้าอี้ “แม่ทัพฟ้า”
- ↑ วิเคราะห์กองทัพ : ‘บิ๊กแดง’ สตรอง! ส่ง ‘คอแดง’ ยึดหัวหาดทัพไทย-ทบ. ‘บิ๊กตู่-บิ๊กเล็ก’ ถอย! ‘บิ๊กอุ้ย’ ฝ่าคลื่นทัพเรือ ฟ้าผ่าดอนเมือง ‘บิ๊กแอร์บูล’ แหวกม่านเป็นม้ามืด?
- ↑ ข่าววันนี้ รู้วันนี้ - สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. หน้า 48.
- ↑ รู้จักให้มากขึ้น 'แอร์บูล' พ่อทัพฟ้า ? - กรุงเทพธุรกิจ
- ↑ "ฟ้าผ่า ดอนเมือง "บิ๊ก แอร์บูล" ม้ามืด เสียบ แม่ทัพฟ้า! – LLpch.news". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-13. สืบค้นเมื่อ 2021-07-16.
- ↑ แอร์บูล - RTAF เก็บถาวร 2021-07-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. หน้า 2.
- ↑ พูดอย่างเสือ บินอย่างอินทรี - ผู้จัดการ
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๕ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๒, ๒ ธันวาคม ๒๕๔๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๑ ตอนที่ ๒๑ ข หน้า ๗, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๙ ข หน้า ๒, ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๘๗ คอนที่ ๕๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๔, ๘ มิถุนายน ๒๕๑๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๘๖ ตอนที่ ๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๒, ๖ มกราคม ๒๕๑๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๘๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๕, ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๙๙ ตอนที่ ๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๗, ๒๒ มกราคม ๒๕๒๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๔๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐๕๗, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๑ ตอนที่ ๑๘๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๙, ๑๔ ธันวาคม ๒๕๒๗
- ↑ 19.0 19.1 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเหรียญอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๒ ข หน้า ๒๐, ๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔