มงคล อัมพรพิสิฏฐ์

พลเอก มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตราชองครักษ์พิเศษ[1]

มงคล อัมพรพิสิฎฐ์
มงคล ใน พ.ศ. 2543
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
ดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2539 – 30 กันยายน พ.ศ. 2543
ก่อนหน้าพลเอก วิโรจน์ แสงสนิท
ถัดไปพลเอก สำเภา ชูศรี
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด20 สิงหาคม พ.ศ. 2483 (83 ปี)
คู่สมรสคุณหญิงทัศนีย์ อัมพรพิสิฏฐ์
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
ยศ พลเอก
พลเรือเอก
พลอากาศเอก

ประวัติ แก้

ชีวิตส่วนตัว แก้

พล.อ. มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ (ชื่อเล่น หมง) เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2483 พล.อ. มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ สมรสกับคุณหญิง ทัศนีย์ อัมพรพิสิฏฐ์ มีบุตร 3 คน หญิง 2 คน ชาย 1 คน

การศึกษา แก้

จบการศึกษา จากโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 9

การทำงาน แก้

ราชการทหาร แก้

มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ เคยดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเคยปฏิบัติราชการพิเศษและราชการสงคราม ได้แก่

นอกจากนั้น ยังเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภา ประธานกรรมการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ, ประธานกรรมการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) และกรรมการธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน)

หลังเกษียณอายุราชการ แก้

มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ เป็นอดีตประธานกรรมการ บริษัท อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกัลไทย จำกัด (มหาชน) หรือ ทีพีไอ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ แก้

พลเอก มงคล อัมพรพิสิฏฐ์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ ดังนี้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย แก้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ แก้

  •   มาเลเซีย :
    • พ.ศ. 2542 -   เครื่องราชอิสริยาภรณ์หยาง มูเลีย เซเตีย มาห์โกตา มาเลเซีย ชั้นที่ 2[11]
    • พ.ศ. 2541 -   เครื่องราชอิสริยาภรณ์เกปาห์ลาวานัน อังคะตัน เต็นเตรา ชั้นที่ 1[10]
  •   สิงคโปร์ :
    • พ.ศ. 2542 -   เครื่องอิสริยาภรณ์ ดาร์จาห์ อุตะมะ บัคติ เซ็มเบอลัง[10]
  •   สเปน :
    • พ.ศ. 2542 -   เครื่องราชอิสริยาภรณ์มินิเทรี เมริท วิธ ไว้ แบ็จ ชั้นที่ 1[10]
  •   อินโดนีเซีย :
    • พ.ศ. 2544 -   เครื่องอิสริยาภรณ์ดาราการติกาเอกปักษี ชั้นที่ 1[12]

อ้างอิง แก้

  1. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/092/T_0001.PDF
  2. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๒๐๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๖
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๖ ตอนที่ ๒๑๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๕, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๒
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า เก็บถาวร 2021-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๘ ข หน้า ๑, ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๔
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องหมายเปลวระเบิดสำหรับประดับแพรแถบเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๙๐ ตอนที่ ๑๘๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๒๙, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๖
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๗ ข หน้า ๖, ๙ เมษายน ๒๕๔๐
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๑๐๑ ตอนที่ ๑๕๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓๑, ๒๖ ตุลาคม ๒๕๒๗
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๔๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑๐๕๔, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๑๖๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๓, ๒๐ กันยายน ๒๕๓๔
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 10.4 10.5 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เครื่องอิสริยาภรณ์ และเหรียญตราต่างประเทศ, เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๑๙ ข หน้า ๑-๒, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๒
  11. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชนุญาตให้ประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๑ ข หน้า ๘, ๒ มกราคม ๒๕๔๓
  12. 12.0 12.1 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ เก็บถาวร 2021-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๑๐ ข หน้า ๒, ๗ มิถุนายน ๒๕๔๔