วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป (อังกฤษ: Women's European Volleyball Championship) เป็นการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงสำหรับทีมชาติในทวีปยุโรป จัดขึ้นโดยสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป (ซีอีวี) การแข่งขันครั้งแรกจัดขึ้นในปี ค.ศ. 1949 ซึ่งในช่วงแรกของการแข่งขันได้การจัดการแข่งขันแตกต่างกันไป ตั้งแต่ในปี ค.ศ. 1975 การแข่งขันได้รับการจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป
การแข่งหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
เหตุการณ์กีฬาปัจจุบัน วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์ยุโรป 2021
กีฬาวอลเลย์บอล
ก่อตั้ง1949
จำนวนทีม16 (รอบสุดท้าย)
ทวีปยุโรป (ซีอีวี)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติตุรกี ตุรกี (1สมัย)
ทีมชนะเลิศสูงสุดธงชาติสหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต (13 สมัย)

ในการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรป 30 ครั้ง มีชาติที่ชนะในการแข่งขัน 8 ชาติ ทีมชาติรัสเซีย ชนะ 19 ครั้ง (13 ครั้ง ในฐานะสหภาพโซเวียต) และทีมชาติอื่นที่ชนะการแข่งขันคือทีมชาติเยอรมนี (ในฐานะ ทีมชาติเยอรมนีตะวันออก) ทีมชาติอิตาลี ทีมชาติโปแลนด์ และทีมชาติเซอร์เบีย ชนะ 2 ครั้ง; และทีมชาติบัลแกเรีย ทีมชาติเช็กเกีย (ในฐานะทีมชาติเชโกสโลวาเกีย) และเนเธอร์แลนด์ ชนะ 1 ครั้ง

การแข่งขันชิงแชมป์ยุโรป 2017 จัดขึ้นที่ประเทศอาเซอร์ไบจานและประเทศจอร์เจีย และการแข่งขันชิงแชมป์ยุโรปครั้งต่อไปจะจัดขึ้นในประเทศเช็กเกีย ประเทศฮังการี, ประเทศโปแลนด์และประเทศตุรกี ในปี ค.ศ. 2019 ซึ่งเป็นเจ้าภาพร่วม

สรุปการแข่งขัน

แก้
ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทีมชนะเลิศ คะแนน ทีมรองชนะเลิศ ทีมอันดับที่ 3 คะแนน ทีมอันดับที่ 4
1949
รายละเอียด
 
เชโกสโลวาเกีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
โรมาเนีย
7
1950
รายละเอียด
 
บัลแกเรีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
6
1951
รายละเอียด
 
ฝรั่งเศส
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
ยูโกสลาเวีย
พบกันหมด  
ฝรั่งเศส
6
1955
รายละเอียด
 
โรมาเนีย
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
สหภาพโซเวียต
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
โรมาเนีย
6
1958
รายละเอียด
 
เชโกสโลวาเกีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
โรมาเนีย
12
1963
รายละเอียด
 
โรมาเนีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
โรมาเนีย
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
13
1967
รายละเอียด
 
ตุรกี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
โปแลนด์
 
เชโกสโลวาเกีย
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
15
1971
รายละเอียด
 
อิตาลี
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เชโกสโลวาเกีย
 
โปแลนด์
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
18
1975
รายละเอียด
 
ยูโกสลาเวีย
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
ฮังการี
 
เยอรมนีตะวันออก
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
12
1977
รายละเอียด
 
ฟินแลนด์
 
สหภาพโซเวียต
3–0  
เยอรมนีตะวันออก
 
ฮังการี
3–2  
โปแลนด์
12
1979
รายละเอียด
 
ฝรั่งเศส
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
 
บัลแกเรีย
พบกันหมด  
ฮังการี
12
1981
รายละเอียด
 
บัลแกเรีย
 
บัลแกเรีย
พบกันหมด  
สหภาพโซเวียต
 
ฮังการี
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
12
1983
รายละเอียด
 
เยอรมนีตะวันออก
 
เยอรมนีตะวันออก
พบกันหมด  
สหภาพโซเวียต
 
ฮังการี
พบกันหมด  
บัลแกเรีย
12
1985
รายละเอียด
 
เนเธอร์แลนด์
 
สหภาพโซเวียต
3–2  
เยอรมนีตะวันออก
 
เนเธอร์แลนด์
3–0  
เชโกสโลวาเกีย
12
1987
รายละเอียด
 
เบลเยียม
 
เยอรมนีตะวันออก
3–1  
สหภาพโซเวียต
 
เชโกสโลวาเกีย
3–0  
บัลแกเรีย
12
1989
รายละเอียด
 
เยอรมนีตะวันตก
 
สหภาพโซเวียต
พบกันหมด  
เยอรมนีตะวันออก
 
อิตาลี
พบกันหมด  
โรมาเนีย
12
1991
รายละเอียด
 
อิตาลี
 
สหภาพโซเวียต
3–0  
เนเธอร์แลนด์
 
เยอรมนี
3–1  
อิตาลี
12
1993
รายละเอียด
 
สาธารณรัฐเช็ก
 
รัสเซีย
3–0  
เช็กเกีย
 
ยูเครน
3–1  
อิตาลี
12
1995
รายละเอียด
 
เนเธอร์แลนด์
 
เนเธอร์แลนด์
3–0  
โครเอเชีย
 
รัสเซีย
3–0  
เยอรมนี
12
1997
รายละเอียด
 
สาธารณรัฐเช็ก
 
รัสเซีย
3–0  
โครเอเชีย
 
เช็กเกีย
3–0  
บัลแกเรีย
12
1999
รายละเอียด
 
อิตาลี
 
รัสเซีย
3–0  
โครเอเชีย
 
อิตาลี
3–0  
เยอรมนี
8
2001
รายละเอียด
 
บัลแกเรีย
 
รัสเซีย
3–2  
อิตาลี
 
บัลแกเรีย
3–1  
ยูเครน
12
2003
รายละเอียด
 
ตุรกี
 
โปแลนด์
3–0  
ตุรกี
 
เยอรมนี
3–2  
เนเธอร์แลนด์
12
2005
รายละเอียด
 
โครเอเชีย
 
โปแลนด์
3–1  
อิตาลี
 
รัสเซีย
3–0  
อาเซอร์ไบจาน
12
2007
รายละเอียด
  /  
เบลเยียม / ลักเซมเบิร์ก
 
อิตาลี
3–0  
เซอร์เบีย
 
รัสเซีย
3–1  
โปแลนด์
16
2009
รายละเอียด
 
โปแลนด์
 
อิตาลี
3–0  
เนเธอร์แลนด์
 
โปแลนด์
3–0  
เยอรมนี
16
2011
รายละเอียด
  /  
อิตาลี / เซอร์เบีย
 
เซอร์เบีย
3–2  
เยอรมนี
 
ตุรกี
3–2  
อิตาลี
16
2013
รายละเอียด
  /  
เยอรมนี / สวิตเซอร์แลนด์
 
รัสเซีย
3–1  
เยอรมนี
 
เบลเยียม
3–2  
เซอร์เบีย
16
2015
รายละเอียด
  /  
เนเธอร์แลนด์ / เบลเยียม
 
รัสเซีย
3–0  
เนเธอร์แลนด์
 
เซอร์เบีย
3–0  
ตุรกี
16
2017
รายละเอียด
  /  
อาเซอร์ไบจาน / จอร์เจีย
 
เซอร์เบีย
3–1  
เนเธอร์แลนด์
 
ตุรกี
3–1  
อาเซอร์ไบจาน
16
2019[1]
รายละเอียด
       
เช็กเกีย / ฮังการี / โปแลนด์ / ตุรกี
 
เซอร์เบีย
3–2  
ตุรกี
 
อิตาลี
3–0  
โปแลนด์
24
2021[2]
รายละเอียด
       
เซอร์เบีย / โครเอเชีย / บัลแกเรีย / โรมาเนีย
 
อิตาลี
3–1  
เซอร์เบีย
 
ตุรกี
3–0  
เนเธอร์แลนด์
24
2023
รายละเอียด
       
เบลเยียม / อิตาลี / เอสโตเนีย / เยอรมนี
 
ตุรกี
3–2  
เซอร์เบีย
 
เนเธอร์แลนด์
3–0  
อิตาลี
24
2026
รายละเอียด
       
อาเซอร์ไบจาน / เช็กเกีย / สวีเดน / ตุรกี
24

ตารางเหรียญการแข่งขัน

แก้
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  สหภาพโซเวียต134017
2  รัสเซีย6039
3  เซอร์เบีย3317
4  อิตาลี3238
5  โปแลนด์24511
6  เยอรมนีตะวันออก2417
7  เชโกสโลวาเกีย1438
8  เนเธอร์แลนด์1427
9  ตุรกี1236
10  บัลแกเรีย1023
11  โครเอเชีย0303
12  เยอรมนี0224
13  ฮังการี0134
14  ยูเครน0011
  ยูโกสลาเวีย0011
  เช็กเกีย0011
  เบลเยียม0011
  โรมาเนีย0011
รวม (18 ประเทศ)33333399

อ้างอิง

แก้
  1. http://www.cev.lu/News.aspx?NewsID=26068&ID=5
  2. "Croatia complete pool of EuroVolley 2021 Women host countries". cev.eu. 20 December 2019. สืบค้นเมื่อ 22 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้