ไวษณวี (Sanskrit: वैष्णवी, IAST:Vaiṣṇavī) เป็นเทวีในศาสนาฮินดูและเป็นพละกำลังอำนาจของพระวิษณุและเป็นพระเทพีของคณะมาตฤกา นามของนางเป็นคำในภาษาสันสกฤตอันหมายถึงพละกำลังอำนาจของพระนารายณ์[1] โดยนามของนั้นใช้สำหรับเทวีในศาสนาฮินดู ในศาสนาพราหมณ์ ฮินดู โดยเฉพาะพระลักษมี ซึ่งเป็นเทพีภริยาของพระวิษณุและยังใช้กับพระแม่ทุรคาและเจ้าแม่กาลีด้วย นอกจากนี้นามนี้ยังใช้สำหรับสตรีที่บูชาพระวิษณุและเทพีไวษโณเทวี เทพารักษ์นารีแห่งเขาตรีกูฏ ในรัฐชัมมูและกัศมีร์ด้วย[2]

พระแม่ไวษณวี
(หรือ พระนารายณี )
คณะเทพีแห่งมาตฤกา , ศักติแห่งพระนารายณ์
ส่วนหนึ่งของ กลุ่มเทพีแห่งมาตฤกา
จิตรกรรมเจ้าแม่ไวษณวี (ซ้าย) และ พระเทพีวราหิ ศิลปะอินเดียแบบประเพณีภาคเหนือ จากคัมภีร์เทวีมาหาตมยะ พุทธศตวรรษที่ยี่สิบสอง จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะลอสแอนเจลิสเคาน์ตี้ ลอสแอนเจลิส สหรัฐ
ชื่ออื่นนารายณี
ชื่อในอักษรเทวนาครีवैष्णवी
ชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตVaiṣṇavī
ส่วนเกี่ยวข้องพระเทพี, มาตฤกา, มหาเทวี, พระปารวตี, ทุรคา, พระลักษมี, นารายณี,ไวษโณเทวี
ที่ประทับสัตยโลก, มณีทวีป
มนตร์ไวษณวีมนตร์
สัญลักษณ์จักร
หอยสังข์
คฑา
ดอกบัว
พาหนะครุฑ
เทศกาลนวราตรี
คู่ครองพระนารายณ์ (ตามปุราณะส่วนใหญ่)
พระโกรธาไภรวะ (ในคติลัทธิไศวะ)

เทพปกรณัม แก้

 
เทวปฏิมาเจ้าแม่ไวษณวี ศิลปะโจฬะ จัดแสดง ณ พิพิธภัณฑ์รัฐบาลบังกาลอร์ นครเบงคลูรู รัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย

พระนางคือพระเทพีของคณะมาตฤกา พระนางเป็นพละกำลังอำนาจของพระวิษณุโดยประติมานวิทยาของพระนางทรงเทพอาวุธจักร หอยสังข์ คฑา ดอกบัว และทรงเทพพาหนะคือ ครุฑ[3][4]

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Sapta Matrikas
  2. SiliconIndia News: «More pilgrim rush to Vaishno Devi this year» (2006)
  3. "Vaishnavi, Vaiṣṇāvī, Vaiṣṇavī: 21 definitions". www.wisdomlib.org (ภาษาอังกฤษ). 28 August 2015. สืบค้นเมื่อ 3 September 2022.
  4. https://hindumeeting.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%9B%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2/. สืบค้นเมื่อ 3 September 2022. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)

แหล่งข้อมูลอื่น แก้