พระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล)

พระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล)[1] เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญยก อดีตเจ้าอาวาสวัดมงคลรัตน์ ตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์,อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์

พระพิมลพัฒนาทร

(พวน วรมงฺคโล)
พระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดมงคลรัตน์ ตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ เจ้าคณะตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
ชื่ออื่นหลวงปู่เจ้าคุณพวน
ส่วนบุคคล
เกิด๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๒ (95 ปี)
มรณภาพ5 มิถุนายน พ.ศ. 2559
นิกายมหานิกาย
การศึกษาน.ธ.เอก
ตำแหน่งชั้นสูง
ที่อยู่วัดมงคลรัตน์ สุรินทร์
อุปสมบท๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๒
พรรษา74
ตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดมงคลรัตน์,ที่ปรึกษาเจ้าคณะตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์

มีพระบรมราชโองการโปรดพระราชทานสัญญาตั้งสมณศักดิ์ เนื่องในวโรกาสที่ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ขึ้นเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญยก เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ โดยมีราชทินนามตามสัญญาบัตรประกอบพัดยศสมณศักดิ์ ว่า พระพิมลพัฒนาทร ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์,เล่ม ๑๒๓,ตอนที่ ๑๕ ข,๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙, หน้า ๑๐

ชาตภูมิ แก้

  • พระพิมลพัฒนาทร (พวน วรมงฺคโล) นามเดิมชื่อ พวน นามสกุล แก้วหล่อ
  • เกิดวันพุธ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะเส็ง ตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๒
  • โยมบิดาชื่อ นายเมาว์ นามสกุล แก้วหล่อ โยมมารดาชื่อ นางแหวน นามสกุล แก้วหล่อ
  • ณ บ้านตราด หมู่ที่ ๒ ตำบลคอโค อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์

การบรรพชาและการอุปสมบท แก้

การศึกษา/วิทยฐานะ แก้

การปกครองคณะสงฆ์ แก้

งานสาธารณูปการ แก้

  • ดำเนินการก่อสร้างพระปรางค์กุญชรมณีศรีไตรยอดเพชร วัดมงคลคชาราม หมู่ที่ 14 บ้านช้างหมอบ ตำบลแนงมุด อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์[5]
  • ดำเนินการก่อตั้งโรงเรียนอุปัชฌาย์พวนอุทิศ[6] ตั้งอยู่หมู่ที่ ๘ บ้านตะโก ตำบลตระแสง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ (พ.ศ. ๒๕๑๙)

การมรณภาพ แก้

อาการป่วยของหลวงปู่เจ้าคุณพระพิมลพัฒนาทรหนักขึ้นต้องเดินทาง เข้ารับการรักษาจากคณะแพทย์ ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า จนกระทั่งท่านได้ถึงแก่มรณภาพลงวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559[7] ด้วยอาการสงบที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า กรุงเทพมหานคร[8] รวมเวลา ที่ท่านรักษาตัวที่โรงพยาบาล เป็นเวลา ถึง 4 เดือน[9]

อนุสรณ์สถานที่รำลึก แก้

สมณศักดิ์ แก้

อ้างอิง แก้

  1. https://www.khaosod.co.th/newspaper-column/amulets/news_14603
  2. "วัดมงคลรัตน์". ปักหมุดเมืองไทย. 2020-08-13.
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-18. สืบค้นเมื่อ 2014-09-27.
  4. McuTour (2015-03-25). "วัดช้างหมอบ จ.สุรินทร์ – แหล่งท่องเที่ยวทางพุทธธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ".
  5. "พิพิธภัณฑ์ของ "หลวงตาพวน" - บ้านไม่บานกับ อ.เชี่ยว ชอบช่วย". www.homeloverthai.com.[ลิงก์เสีย]
  6. http://data.bopp-obec.info/web/index_view_history.php?School_ID=1032650017&page=history[ลิงก์เสีย]
  7. "พลังศรัทธาคลื่นมหาชนทั่วสารทิศ แห่รอรับสรีระสังขารหลวงปู่พวน (ประมวลภาพ)". https://www.naewna.com. 2016-06-06. {{cite web}}: แหล่งข้อมูลอื่นใน |website= (help)
  8. ข่าวช่อง 8 (2016-06-06). "พลังศรัทธา! คลื่นมหาชนจากทั่วสารทิศแห่รอรับสรีระสังขาร หลวงปู่พวน สุดทึ่ง!! กับมงคลเลข 5". www.thaich8.com.
  9. https://www.matichon.co.th/region/news_164492
  10. "วัดมงคลรัตน์ ทำพิธีสวดพุทธาภิเษกปลุกเสกแผ่นชนวนมวลสารอักขระจารย์ยันต์มงคล จากเกจิอาจารย์ 108 วัด". สยามรัฐ. 2023-06-06.
  11. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม ๑๒๓, ตอนที่ ๑๕ ข,๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙, หน้า ๑๐