พระขันธกุมาร
เทพเจ้าในศาสนาฮินดู
พระขันทกุมาร[a] หรือ พระมุรุกัน (ทมิฬ: முருகன், เทวนาครี: मुरुगन; มุรุคะนะ, มลยาฬัม: മുരുകന്; มุรุกัน) หรือ พระการติเกยะ (เทวนาครี: कार्तिकेय) หรือ พระสกันทกุมาร (เทวนาครี: स्कंदकुमार) หรือ พระสุพรหมัณยะ (กันนาดา: ಸುಬ್ರಹ್ಮಣ್ಯ, เตลูกู: సుబ్రహ్మణ్యేశ్వర) เป็นเทพเจ้าแห่งการสงครามในศาสนาฮินดู[8][9][10] พระขันธกุมารเป็นบุตรของพระศิวะกับพระปารวตี พระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระคเณศ[11] เป็นที่นิยมบูชามากในชาวฮินดูในแถบอินเดียใต้, ศรีลังกา, มาเลเซีย และสิงคโปร์
พระขันธกุมาร | |
---|---|
![]() เทวรูปพระขันธกุมาร ทางขึ้นถ้ำบาตู ประเทศมาเลเซีย | |
ชื่อในอักษรเทวนาครี | कार्तिकेय |
ดาวพระเคราะห์ | ดาวอังคาร |
อาวุธ | หอกศักติ |
พาหนะ | นกยูง |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
คู่ครอง | พระแม่เทวเสนา(อีกนามคือ พระแม่เกามารี[1] หรือ พระแม่ษัษฏี[2] ) พระแม่วัลลี |
บิดา-มารดา |
พระมุรุกันเป็นที่ถือกันว่าเป็น "เทพเจ้าของชาวทมิฬทั้งปวง"[12] [13] มีการตั้งสมมติฐานว่าพระมุรุคะ ซึ่งเป็นเทพเจ้าในศาสนาพื้นถิ่นทราวิฑถูกรวมเข้ากับพระสุพรหมัณยะซึ่งเป็นเทพเจ้าพระเวท นับตั้งแต่ยุคสังฆัมเป็นต้นมา เทพเจ้าทั้งสององค์ถูกรวมกันและนับถือในฐานะพระมุรุกันนับจากนั้น[8][9][11][14]
หมายเหตุแก้ไข
- ↑ ในภาษาไทย ปรากฏใช้ทั้ง ขันธกุมาร และ ขันทกุมาร เช่น สมาคมฮินดูสมาช[3] โดยในจดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถานมีระบุว่า "ขันทกุมาร" มาจากพระนาม "สกันทกุมาร"[4] อย่างไรก็ตาม ปรากฏใช้ "ขันธกุมาร" ใน พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร[5] และในเอกสารวิชาการ เช่น บทความของประเวศ ลิมปรังษีในวารสารหน้าจั่ว คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร[6] และวิทยานิพนธ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ[7]
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ https://shastidevidevasena.quora.com/Shanmukhi-Six-faced-Goddess-Alternatively-it-could-also-mean-wife-of-Shanmukha-the-six-faced-Lord?comment_id=8337615&comment_type=3
- ↑ https://hinduism.stackexchange.com/questions/14842/is-devasena-shasti
- ↑ Hindu Samaj Bangkok วัดเทพมณเทียร สมาคมฮินดูสมาช (2020-06-27). "ขันทกุมาร มหาเทพองค์นี้มีชื่อใกล้มาทางฝ่ายไทย และมีส่วนเกี่ยวข้องกับพระพิฆเนศ". Facebook. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
- ↑ นักการเรียน, สำรวย (2007). "จตุคามรามเทพส่งผลต่อภาษาไทย". จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน (194). ISSN 0857-7064. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
- ↑ เข้าถึงจาก "ขันธกุมาร". Sanook Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
- ↑ ลิมปรังษี, ประเวศ (2001). "ประวัติพระคเณศ". หน้าจั่ว. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (18). สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
- ↑ ประเสริฐศรี, สุกัญญา (2008). "เทศกาลนวราตรีวัดพระศรีมหาอุมาเทวี: การศึกษาพิธีกรรมและความเชื่อ" (PDF). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สืบค้นเมื่อ 2022-06-12.
- ↑ 8.0 8.1 Parpola 2015, p. 285.
- ↑ 9.0 9.1 Lochtefeld 2002, pp. 655–656.
- ↑ Clothey 1978, pp. 1–2.
- ↑ 11.0 11.1 Jones & Ryan 2006, p. 228.
- ↑ "Murugan | Tamil deity | Britannica". www.britannica.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-05-10.
- ↑ "Tracing the roots of the Tamil God". The Hindu (ภาษาIndian English). 2015-01-22. ISSN 0971-751X. สืบค้นเมื่อ 2022-05-10.
- ↑ "Murukan Temples in Singapore". murugan.org. สืบค้นเมื่อ 2021-10-19.
บรรณานุกรมแก้ไข
- Bakker, Hans (2014). The World of the Skandapurāṇa. BRILL Academic. ISBN 978-90-04-27714-4.
- Clothey, Fred W. (1978). The Many Faces of Murukan̲: The History and Meaning of a South Indian God. Walter de Gruyter. ISBN 978-90-279-7632-1.
- Dalal, Roshen (2010). The Religions of India: A Concise Guide to Nine Major Faiths. Penguin Books India. ISBN 978-0-14-341517-6.
- Doniger, Wendy, บ.ก. (1993). Purāṇa Perennis: Reciprocity and Transformation in Hindu and Jaina Texts. Albany, New York: State University of New York. ISBN 0-7914-1382-9.
- Jones, Constance; Ryan, James D. (2006). Encyclopedia of Hinduism. Infobase Publishing. ISBN 978-0-8160-7564-5.
- Mann, Richard D. (2011). The Rise of Mahāsena: The Transformation of Skanda-Kārttikeya in North India from the Kuṣāṇa to Gupta Empires. BRILL. ISBN 978-90-04-21886-4.
- Parpola, Asko (2015). The Roots of Hinduism: The Early Aryans and the Indus Civilization. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-022691-6.
- Gopinatha Rao, T. A. (1993). Elements of Hindu iconography. Motilal Banarsidass. ISBN 978-81-208-0878-2.
- Lal, Mohan (1992). Encyclopaedia of Indian Literature. Sahitya Akademi. ISBN 978-81-260-1221-3.
- Lochtefeld, James G. (2002). The Illustrated Encyclopedia of Hinduism: N-Z. The Rosen Publishing Group. ISBN 978-0-8239-3180-4.
- Rocher, Ludo (1986). The Puranas. Otto Harrassowitz Verlag. ISBN 978-3447025225.
- Mani, Vettam. Puranic Encyclopedia. 1st English ed. New Delhi: Motilal Banarsidass, 1975.
- G. V. Tagare, Dr. The Skanda-Purana (23 Vols.), Motilal Banarsidass. 2007.
- Kaur, Jagdish (1979). "Bibliographical Sources for Himalayan Pilgrimages and Tourism Studies: Uttarakhand". Tourism Recreation Research. 4 (1): 13–16. doi:10.1080/02508281.1979.11014968.
- Srinivasan, Doris (2007). On the Cusp of an Era: Art in the Pre-Kuṣāṇa World. BRILL Academic. ISBN 978-90-04-15451-3.
- Srinivasan, Doris (1997). Many Heads, Arms, and Eyes: Origin, Meaning, and Form of Multiplicity in Indian Art. BRILL Academic. ISBN 90-04-10758-4.
- Varadara, Raman (1993). Glimpses of Indian Heritage. Popular Prakashan. ISBN 978-81-7154-758-6.
- Pillai, V. J. Thamby (2004). Origin on the Tamil Vellalas (T.A.- Vol. 1 Pt.10). Asian Educational Services.
- Ramanujan, S R (2014). The Lord of Vengadam A Historical Perspective. Partridge Publishing.
- Meenakshi, K. (1997). Tolkappiyam and Astadhyayi. International Institute of Tamil Studies.
- Balasubrahmanyam, S. R. (1966). Early Chola Art Part 1. New Asia Publishing House.
- Subramanian, A., บ.ก. (1978). New Dimensions in the Study of Tamil Culture.
บทความเกี่ยวกับศาสนาฮินดูนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |