ประสูตร รัศมีแพทย์
พลเอก ประสูตร รัศมีแพทย์ (เกิด 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499) ตุลาการศาลทหารสูงสุด, รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด , สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (ด้านพลังงาน), กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธิอุทยานราชภักดิ์ [1],อดีตราชองครักษ์พิเศษ[2]
ประสูตร รัศมีแพทย์ | |
---|---|
![]() | |
รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 30 กันยายน พ.ศ. 2559 | |
ตุลาการศาลทหารสูงสุด | |
อยู่ในวาระ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 1 กันยายน พ.ศ. 2559 | |
กรรมการและเหรัญญิกมูลนิธิอุทยานราชภักดิ์ | |
อยู่ในวาระ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 4 มกราคม พ.ศ. 2559 | |
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 (63 ปี) |
คู่สมรส | ปิยพัชร์ รัศมีแพทย์ |
ศาสนา | พุทธ |
การเข้าเป็นทหาร | |
สังกัด | กองบัญชาการกองทัพไทย |
ปีปฏิบัติงาน | พ.ศ. 2521 - 2559 |
ยศ | ![]() |
การศึกษาแก้ไข
จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 14 (ตท.14) รุ่นเดียวกับ พลอากาศเอก ตรีทศ สนแจ้ง ผู้บัญชาการทหารอากาศ, นาวาอากาศเอก วีระยุทธ ดิษยะศริน และเข้ารับการศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 25 (จปร.25) รุ่นเดียวกับ พลเอก อุดมเดช สีตบุตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม, พลเอก ธีรชัย นาควานิช ผู้บัญชาการทหารบก, พลเอก นิพัทธ์ ทองเล็ก อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม, พลเอก สุรเชษฐ์ ชัยวงศ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
การทำงานแก้ไข
- ราชการสนามชายแดนด้านอรัญประเทศ
- รองผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีทางทหาร กองทัพบก
- คณะทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กองทัพบก
- ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยี คณะทำงานสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
- ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ)
- หัวหน้าสำนักรองผู้อำนวยการกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (รอง ผอ.รมน)
- 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557 สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (พลังงาน)
- 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด[3]
- 29 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ราชองค์รักษ์เวร [4]
- 4 มกราคม พ.ศ. 2559 กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธิอุทยานราชภักดิ์
- 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ราชองค์รักษ์พิเศษ [5]
- 1 กันยายน พ.ศ. 2559 ตุลาการศาลทหารสูงสุด [6]
การเมืองแก้ไข
- พลเอก ประสูตร รัศมีแพทย์ ได้รับการแต่งตั้งเป็น สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ[7] ด้านพลังงาน ในรัฐบาลของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2557
เครื่องราชอิสริยาภรณ์แก้ไข
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นมหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[8]
- เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นมหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
- เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)
- เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)
อ้างอิงแก้ไข
- ↑ เปลี่ยนชื่อ"มูลนิธิราชภักดิ์" ทรงรับไว้ในพระราชูปถัมภ์ | และเปลี่ยนแปลงกรรมการ“
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/092/T_0001.PDF
- ↑ เรื่อง ให้ นาย ทหาร รับ ราชการ - ราชกิจจานุเบกษา
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/031/1.PDF แต่งตั้ง ราชองค์รักษ์ - ราชกิจจานุเบกษา],
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา http://www.matichon.co.th/news/163210 แต่งตั้ง ราชองค์รักษ์ - ราชกิจจานุเบกษา],
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/209/2.PDF ถอดถอนและแต่งตั้งตุลาการศาลทหารสูงสุด - ราชกิจจานุเบกษา],
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา แต่งตั้ง สมาชิก สภา ปฏิรูป แห่ง ชาติ - ราชกิจจานุเบกษา,
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/B/027/1.PDF
ก่อนหน้า | ประสูตร รัศมีแพทย์ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
ไพบูลย์ คุ้มฉายา | รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด (๔) (1 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน) |
อยู่ในวาระ |