ทิเบต (ค.ศ. 1912–1951)

ทิเบตในฐานะรัฐเอกราชโดยพฤตินัย และประวัติศาสตร์ระหว่าง ค.ศ. 1912 ถึง 1951

ทิเบต เป็นรัฐเอกราชโดยพฤตินัยระหว่าง ค.ศ. 1912 ถึง ค.ศ. 1951 ผู้ปกครองคือทะไลลามะการปกครองคือศาสนาพุทธโดยเทวาธิปไตยแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และมีสถานะเป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐจีน

ทิเบต

བོད་ (ทิเบต)
Bod
西藏 (จีน)
ซีจ้าง
1912–1951
เพลงชาติ"กายอลู" (ตั้งแต่ ค.ศ. 1950)
ดินแดนราชอาณาจักรทิเบตในปี ค.ศ. 1942
ดินแดนราชอาณาจักรทิเบตในปี ค.ศ. 1942
สถานะรัฐที่ไม่ได้รับการรับรอง (นิตินัย)
มณฑลของสาธารณรัฐจีน
เมืองหลวงลาซา
ภาษาทั่วไปภาษาทิเบต, กลุ่มภาษาทิเบต
ศาสนา
พุทธแบบทิเบต
การปกครองศาสนาพุทธโดยเทวาธิปไตย[1]แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์[2]
ทะไลลามะ 
• 1912–1933
ทับเทน เกียตโซ (องค์แรก)
• 1937–1951
เทนซิน เกียตโซ (องค์สุดท้าย)
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่ 1, สมัยระหว่างสงคราม, สงครามโลกครั้งที่ 2, สงครามเย็น
• ข้อตกลงสามฝ่าย
กรกฎาคม 1912
• ทับเทน เกียตโซ กลับคืนสู่ราชบัลลังก์
1913
1950
23 พฤษภาคม 1951
สกุลเงินTibetan skar, Tibetan srang, Tibetan tangka
ก่อนหน้า
ถัดไป
ทิเบตภายใต้การปกครองของราชวงศ์ชิง
เขตปกครองตนเองทิเบต
ฝ่ายบริหารกลางทิเบต
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจีน สาธารณรัฐประชาชนจีน
ทิเบต
"ทิเบต" ในภาษาจีน (ข้างบน) และภาษาทิเบต (ด้านล่าง)
ชื่อภาษาจีน
ภาษาจีน西藏
ฮั่นยฺหวี่พินอินXīzàng
ไปรษณีย์Hsi-tsang
ความหมายตามตัวอักษร"Western Tsang"
ชื่อภาษาทิเบต
อักษรทิเบต བོད་
ชื่อภาษาแมนจู
อักษรแมนจู ᠸᠠᡵᡤᡳ
ᡩᡯᠠᠩ
อักษรโรมันwargi Dzang

ทิเบตเป็นส่วนหนึ่งของราชวงศ์ชิงมาอย่างต่อเนื่อง[3][4] จนกระทั่งเกิดการปฏิวัติซินไฮ่ภายหลังจาการล่มสลายของราชวงศ์ชิง ในปี ค.ศ. 1912 เมื่อรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐจีนแทนที่ราชวงศ์ชิงในฐานะรัฐบาลของจีนและได้ลงนามในสนธิสัญญากับราชวงศ์ชิงที่จะสืบทอดดินแดนทั้งหมดของราชวงศ์มาเป็นสาธารณรัฐใหม่ทำให้ทิเบตมีสถานะเป็น"รัฐในอารักขา"[5] ต่อมาในสมัยรัฐบาลชาตินิยมแห่งสาธารณรัฐจีนได้ยกระดับให้ทิเบตเป็นมณฑลหนึ่งของสาธารณรัฐจีน

จนถึง ค.ศ. 1950 กองทัพปลดปล่อยประชาชนได้เข้ายึดครองดินแดนธิเบต และผนวกเขตดินแดนโดยมีสถานะเป็นเขตปกครองตนเองทิเบตของสาธารณรัฐประชาชนจีน

ทิเบตในช่วงศตวรรษที่ 20 ยังไม่มีการเลิกทาสเพราะยังมียุติตามมติชนชั้นอยู่จนกระทั่งถึง ค.ศ. 1951 มีข้อตกลงสันติภาพ 17 ข้อ

ประวัติศาสตร์

แก้

การประกาศเอกราช

แก้

ข้อตกลงซิมลา (ค.ศ. 1914)

แก้
 
โครงสร้างอำนาจบริหารของทิเบต

การสิ้นพระชนม์ของทับเทน เกียตโซ

แก้

ทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่

แก้
 
ทะไลลามะ องค์ที่สิบสี่ (เทนซิน เกียตโซ) ในช่วงวัยเยาว์

การผนวกดินแดนเข้ากับจีน

แก้

สังคม

แก้

นโยบายต่างประเทศ

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. James Minahan, Encyclopedia of the Stateless Nations: S-Z, Greenwood, 2002, page 1892
  2. Nakamura, Haije (1964). "Absolute Adherence to the Lamaist Social Order". Ways of Thinking of Eastern Peoples: India, China, Tibet, Japan. University of Hawaii Press. p. 327.
  3. Perkins, Dorothy (2013-11-19). Encyclopedia of China: History and Culture (ภาษาอังกฤษ). Routledge. ISBN 978-1-135-93562-7.
  4. Fravel, M. Taylor (2008-08-25). Strong Borders, Secure Nation: Cooperation and Conflict in China's Territorial Disputes (ภาษาอังกฤษ). Princeton University Press. ISBN 978-1-4008-2887-6.
  5. Huang, Hua-Lun (2014-01-10). The Missing Girls and Women of China, Hong Kong and Taiwan: A Sociological Study of Infanticide, Forced Prostitution, Political Imprisonment, "Ghost Brides," Runaways and Thrownaways, 1900-2000s (ภาษาอังกฤษ). McFarland. ISBN 978-0-7864-8834-6.

ประวัติ

แก้
  • Bell, Charles Alfred. Tibet: Past & present (1924) Oxford University Press ; Humphrey Milford.
  • Chapman, F. Spencer. Lhasa the Holy City (1977) Books for Libraries. ISBN 0-8369-6712-7; first published 1940 by Readers Union Ltd., London
  • Goldstein, Melvyn C. A History of Modern Tibet, 1913-1951: The Demise of the Lamaist State (1989) University of California Press. ISBN 978-0-520-06140-8
  • Goldstein, Melvyn C. The Snow Lion and the Dragon: China, Tibet, and the Dalai Lama (1997) University of California Press. ISBN 0-520-21951-1
  • Goldstein, Melvyn C. A History of Modern Tibet, Volume 2: The Calm Before the Storm: 1951-1955 (2007) University of California Press. ISBN 978-0-520-24941-7
  • Grunfeld, A. Tom. The Making of Modern Tibet (1996) East Gate Book. ISBN 978-1-56324-713-2
  • Lamb, Alastair. The McMahon Line: A Study in the Relations between India, China and Tibet, 1904 to 1914 (1966) Routledge & Kegan Paul. 2 volumes.
  • Shakya, Tsering. The Dragon In The Land Of Snows (1999) Columbia University Press. ISBN 0-231-11814-7

แม่แบบ:ทิเบต