กัมบะ โอซากะ

(เปลี่ยนทางจาก กัมบะโอซากะ)


กัมบะโอซากะ (ญี่ปุ่น: ガンバ大阪โรมาจิGamba Ōsaka) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันเล่นอยู่ในเจลีก ดิวิชัน 1 โดยทีมกัมบะอยู่ที่เมืองซุยตะ จังหวัดโอซากะ ทีมกัมบะได้รับชัยชนะครั้งแรกในเจลีกในปี ค.ศ. 2005 นอกจากนี้ ยังสามารถคว้าแชมป์เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีกได้สำเร็จเป็นครั้งแรก ค.ศ. 2008

กัมบะโอซากะ
logo
ชื่อเต็มガンバ大阪
(Gamba Ōsaka)
ฉายาเจ้าเวหา, เด็กสายฟ้า
ก่อตั้งค.ศ. 1980
ค.ศ. 1991 (ในชื่อ กัมบะโอซากะ)
สนามสนามฟุตบอลนครซุอิตะ
ซูอิตะ จังหวัดโอซากะ
ความจุ39,694 ที่นั่ง
เจ้าของญี่ปุ่น พานาโซนิค
ประธานญี่ปุ่น เทรูฮิซะ โนโระ
ผู้จัดการสเปน Dani Poyatos
ลีกเจลีก ดิวิชัน 1
2022อันดับที่ 15
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน

คำว่า กัมบะ ในภาษาญี่ปุ่นมีความหมายว่า "พยายามทำให้ดีที่สุด" มาจากคำว่า กัมบาเระ แต่ชื่อจริงของทีมมาจากภาษาอิตาลี คำว่า กัมบา ที่แปลว่า "ขา"

อดีตมีนักฟุตบอลชาวไทยร่วมทำหน้าที่กับสโมสรแห่งนี้ด้วยคือ วิทยา เลาหกุล, นที ทองสุขแก้ว, รณชัย สยมชัย

ประวัติ

แก้

กัมบะโอซากะ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1980 ในชื่อ สโมสรฟุตบอลมัตสึชิตะ ในจังหวัดนาระ และเปลี่ยนชื่อมาเป็น กัมบะโอซากะ เมื่อย้ายมาอยู่ที่จังหวัดโอซากะ ในปี ค.ศ. 1991 และได้เข้าร่วมเจลีกในปี ค.ศ. 1992

ในปี ค.ศ. 2005 กัมบะโอซากะ สร้างประวัติศาสตร์ด้วยการเป็นแชมป์เจลีกครั้งแรก ต่อด้วยการสร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีกมาครองได้เป็นครั้งแรก ในปี 2008 ด้วยการเอาชนะทีมอะเดเลด ยูไนเต็ด จากออสเตรเลียขาดลอย 5-0

ในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2012 กัมบะโอซากะ ตกชั้นจากเจลีก ดิวิชัน 1มาสู่เจลีก ดิวิชัน 2 หลังจบด้วยอันดับ 17 ในลีกแม้จะยิงประตูมากกว่าทีมอื่นก็ตาม

สัญลักษณ์สโมสร

แก้

สนาม

แก้

กัมบะโอซากะ ใช้สนามกีฬาโอซากะเอ็กซ์โป '70 ซึ่งตั้งอยู่ที่สวนที่ระลึกงานเอ็กซ์โป เป็นสยามเหย้า เป็นสนามที่มีลู่วิ่ง ความจุผู้ชม 20,000 คน และสโมสรมีแผนจะสร้างสนามแห่งใหม่เป็นสนามฟุตบอลโดยเฉพาะ ภายในบริเวณสวนที่ระลึกงานเอ็กซ์โป

ผลงานในเจลีก

แก้
ฤดูกาล ลีก จำนวนทีม อันดับ จำนวนผู้ชมเฉลี่ย เจลีก คัพ ถ้วยจักรพรรดิ ฟุตบอลเอเชีย
1992 - - - - รอบแบ่งกลุ่ม รอบ 8 ทีมสุดท้าย - -
1993 J1 10 7 21,571 รอบรองชนะเลิศ รอบ 2 - -
1994 J1 12 10 22,367 รอบรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ - -
1995 J1 14 14 13,310 - รอบรองชนะเลิศ - -
1996 J1 16 12 8,004 รอบแบ่งกลุ่ม รอบรองชนะเลิศ - -
1997 J1 17 4 8,443 รอบแบ่งกลุ่ม รอบรองชนะเลิศ - -
1998 J1 18 15 8,723 รอบแบ่งกลุ่ม รอบ 3 - -
1999 J1 16 11 7,996 รอบ 2 รอบ 4 - -
2000 J1 16 6 9,794 รอบ 2 รอบรองชนะเลิศ - -
2001 J1 16 7 11,723 รอบ 2 รอบ 8 ทีมสุดท้าย - -
2002 J1 16 3 12,762 รอบรองชนะเลิศ รอบ 4 - -
2003 J1 16 10 10,222 รอบ 8 ทีมสุดท้าย รอบ 4 - -
2004 J1 16 3 12,517 รอบ 8 ทีมสุดท้าย รอบรองชนะเลิศ - -
2005 J1 18 1 15,966 รองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ - -
2006 J1 18 3 16,259 รอบ 8 ทีมสุดท้าย รองชนะเลิศ CL รอบแบ่งกลุ่ม
2007 J1 18 3 17,439 ชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ - -
2008 J1 18 8 16,128 รอบรองชนะเลิศ ชนะเลิศ CL ชนะเลิศ
2009 J1 18 3 17,712 รอบ 8 ทีมสุดท้าย ชนะเลิศ CL รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2010 J1 18 2 16,654 รอบ 8 ทีมสุดท้าย รอบรองชนะเลิศ CL รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2011 J1 18 3 16,411 รอบรองชนะเลิศ รอบ 3 CL รอบ 16 ทีมสุดท้าย
2012 J1 18 17 14,778 รอบ 8 ทีมสุดท้าย รองชนะเลิศ CL รอบแบ่งกลุ่ม
2013 J2 22 1 13,444 ไม่ได้ร่วมการแข่งขัน รอบ 3 CL ไม่ได้ร่วมการแข่งขัน
2014 J1 18 1 15,777 ชนะเลิศ ชนะเลิศ CL ไม่ได้ร่วมการแข่งขัน
2015 J1 18 2 15,999 รองชนะเลิศ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ
2016 J1 18 4 25,342 รองชนะเลิศ รอบ 8 ทีมสุดท้าย Group Stage
2017 J1 18 10 24,277 รอบรองชนะเลิศ รอบ 4 Group Stage
2018 J1 18 16 23,485 รอบ 8 ทีมสุดท้าย รอบ 2
2019 J1 18 7 27,708 รอบรองชนะเลิศ รอบ 3

นักฟุตบอล

แก้

ทีมปัจจุบัน

แก้

ข้อมูล ณ วันที่ 26 มกราคม 2015

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
13 MF   ฮิโระยุกิ อะเบะ

การจัดอันดับในเอเชีย

แก้
ณ วันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 2015[1]
Current Rank Country Team
39   ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์
40   เปอร์ซิบบันดุง
41   บุรีรัมย์ยูไนเต็ด
42   กัมบะโอซากะ
43   อะดีเลดยูไนเต็ด

บุคคลที่มีผลงานโดดเด่น

แก้

รายชื่อผู้เล่นตามด้วยปีฤดูกาลฟุตบอล

ผู้เล่น

แก้

ผู้ฝึกสอน

แก้

เกียรติประวัติ

แก้

การแข่งขันในประเทศ

แก้

ในนามสโมสรฟุตบอลมัตสึชิตะ (ยุคทีมสมัครเล่น)

ในนามสโมสรฟุตบอลกัมบะโอซากะ (ยุคทีมฟุตบอลอาชีพ)

ฟุตบอลเอเชีย

แก้

ฟุตบอลระดับโลก

แก้
  • ฟุตบอลชิงถ้วยธนาคารซูรูกะ
  • รองชนะเลิศ (1) : 2008

ฟุตบอลระดับนานาชาติ รายการเล็ก

แก้

ผู้จัดการทีม

แก้
ผู้จัดการทีม สัญชาติ อยู่ในตำแหน่ง
คุนิชิเกะ คะมะโมะโตะ   ญี่ปุ่น 1991–94[2]
ซิกเฟรด์ เฮลด์   เยอรมนี 1994–95
โจซิป คูเซ   โครเอเชีย 1996–97
เฟดริช คอนซิเลีย   ออสเตรีย 1997–98
เฟเดริค อันโตเนตติ   ฝรั่งเศส 1998–99
ฮิโระชิ ฮะยะโนะ   ญี่ปุ่น 1999–01
คะซุฮิโกะ ทะเคะโมะโตะ   ญี่ปุ่น 2001–02
อะกิระ นิชิโนะ   ญี่ปุ่น กุมภาพันธ์ 2002 – ธันวาคม 2011
โฮเซ คาร์ลอส เซอร์เรา   บราซิล มกราคม 2012 – มีนาคม 2012
มะซะโนะบุ มะสึนะมิ   ญี่ปุ่น มีนาคม 2012 – มกราคม 2013
เคนตะ ฮะเซะงะวะ   ญี่ปุ่น 2013 – 2017

สโมสรพันธมิตร

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Asian Football Clubs Ranking". {{cite web}}: |url= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  2. "Japan Football Hall of Fame". JFA. Japan Football Association.
  3. แลกเปลี่ยนศาสตร์ฟุตบอล! ชลบุรีจับมือพันธมิตรลูกหนังกัมบะ โอซาก้า

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

แม่แบบ:ผู้เล่นกัมบะ โอซากะ