เจ.ลีกคัพ (ญี่ปุ่น: JリーグカップโรมาจิJē-rīgu-kappu) เป็นการแข่งขันฟุตบอลที่จัดตั้งขึ้นโดยเจลีก ได้รับการสนับสนุนโดย ยามาซากิ บิสกิตส์ (วายบีซี) ของยามาซากิ เบกกิง (เดิมชื่อ ยามาซากิ นาบิสโก) ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2535 เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เจ. ลีก วายบีซี ลูแว็ง คัพ (ญี่ปุ่น: JリーグYBCルヴァンカップ) หรือ ลูแว็ง คัพ (ญี่ปุ่น: ルヴァンカップ、ルヴァン杯; ลูแว็งเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ของวายบีซี)[1] เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เจ.ลีก ยามาซากิ นาบิสโก คัพ (ญี่ปุ่น: Jリーグヤマザキナビスコカップ) หรือ นาบิสโก คัพ (ญี่ปุ่น: ナビスコカップ、ナビスコ杯) จนถึงเดือนสิงหาคม 2559

การ์ฟิลด์คัพ
เจ.ลีก วายบีซี ลูแว็ง คัพ
ก่อตั้ง1992; 32 ปีที่แล้ว (1992)
ภูมิภาค ญี่ปุ่น
จำนวนทีม20
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอวิสปา ฟูกูโอกะ
(1 ครั้ง)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดคาชิมะ แอนต์เลอส์ (6 ครั้ง)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์ฟูจิทีวี, สกาย เพอร์เฟคทีวี! (ถ่ายทอดสด)
เว็บไซต์www.jleague.jp/leaguecup/
เจลีกคัพ ฤดูกาล 2023

เงินรางวัล แก้

  • แชมเปียนส์: เจลีกคัพ, วายบีซี ลูแว็ง คัพ, เหรียญรางวัลแชมเปียนและ 150 ล้านเยน
  • รองชนะเลิศ: เจลีก คอมเมโมเรทีฟ พลัค, เหรียญรางวัลรองชนะเลิศ, และ 50 ล้านเยน
  • อันดับ 3 (2 สโมสร): เจลีก คอมเมโมเรทีฟ พลัค และ 20 ล้านเยน สู่แต่ละสโมสรที่จบอันดับที่ 3

ทำเนียบรอบชิงชนะเลิศ แก้

ปี ชนะเลิศ สกอร์ รองชนะเลิศ สนาม
1992 แวร์ดี คาวาซากิ 1–0 ชิมิซุ เอส-พัลส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
1993 แวร์ดี คาวาซากิ 2–1 ชิมิซุ เอส-พัลส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
1994 แวร์ดี คาวาซากิ 2–0 จูบิโล อิวาตะ Kobe Universiade Memorial Stadium
1995 ไม่มีการแข่งขัน
1996 ชิมิซุ เอส-พัลส์ 3–3
(5–4 ลูกโทษ)
แวร์ดี คาวาซากิ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
1997 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 2–1
5–1

(7–2 ประตูรวม)
จูบิโล อิวาตะ เลก 1: สนามกีฬายามาฮะ
เลก 2: สนามฟุตบอลคาชิมะ
1998 จูบิโล อิวาตะ 4–0 เจอีเอฟ ยูไนเต็ด อิชิฮะระ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
1999 คาชิวะ เรย์โซล 2–2
(5–4 ลูกโทษ)
คาชิมะ แอนต์เลอส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2000 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 2–0 คาวาซากิ ฟรอนตาเล สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2001 โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 0–0
(3–1 ลูกโทษ)
จูบิโล อิวาตะ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2002 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 1–0 อูราวะ เรดไดมอนส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2003 อูราวะ เรดไดมอนส์ 4–0 คาชิมะ แอนต์เลอส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2004 เอฟซี โตเกียว 0–0
(4–2 ลูกโทษ)
อูราวะ เรดไดมอนส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2005 เจอีเอฟ ยูไนเต็ด ชิบะ 0–0
(5–4 ลูกโทษ)
กัมบะ โอซากะ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2006 เจอีเอฟ ยูไนเต็ด ชิบะ 2–0 คาชิมะ แอนต์เลอส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2007 กัมบะ โอซากะ 1–0 คาวาซากิ ฟรอนตาเล สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2008 โออิตะ ทรินิตา 2–0 ชิมิซุ เอส-พัลส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2009 เอฟซี โตเกียว 2–0 คาวาซากิ ฟรอนตาเล สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2010 จูบิโล อิวาตะ 5–3 (aet) ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2011 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 1–0 (aet) อูราวะ เรดไดมอนส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2012 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 2–1 (aet) ชิมิซุ เอส-พัลส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2013 คาชิวะ เรย์โซล 1–0 อูราวะ เรดไดมอนส์ สนามกีฬาแห่งชาติโอลิมปิก
2014 กัมบะ โอซากะ 3–2 ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ สนามกีฬาไซตะมะ
2015 คาชิมะ แอนต์เลอส์ 3–0 กัมบะ โอซากะ สนามกีฬาไซตะมะ
2016 อูราวะ เรดไดมอนส์ 1–1
(5–4 ลูกโทษ)
กัมบะ โอซากะ สนามกีฬาไซตะมะ
2017 เซเรซโซ โอซากะ 2–0 คาวาซากิ ฟรอนตาเล สนามกีฬาไซตะมะ
2018 โชนัน เบลมาเร 1–0 โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส สนามกีฬาไซตะมะ
2019 คาวาซากิ ฟรอนตาเล 3–3
(5–4 ลูกโทษ)
ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ สนามกีฬาไซตะมะ
2020 เอฟซี โตเกียว 2–1 คาชิวะ เรย์โซล สนามกีฬาแห่งชาติ
2021 นาโงยะ แกรมปัส 2–0 เซเรซโซ โอซากะ สนามกีฬาไซตะมะ
2022 ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ 2–1 เซเรซโซ โอซากะ สนามกีฬาแห่งชาติ
2023 อวิสปา ฟูกูโอกะ 2–1 อูราวะ เรดไดมอนส์ สนามกีฬาแห่งชาติ

ทำเนียบผู้ชนะเลิศ แก้

ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร) แก้

สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ฤดูกาลที่เป็นชนะเลิศ ฤดูกาลที่เป็นรองชนะเลิศ
คาชิมะ แอนต์เลอส์
6
3
1997, 2000, 2002, 2011, 2012, 2015 1999, 2003, 2006
โตเกียว แวร์ดี
3
1
1992, 1993, 1994 1996
เอฟซี โตเกียว
3
0
2004, 2009, 2020
อูราวะ เรดไดมอนส์
2
4
2003, 2016 2002, 2004, 2011, 2013
จูบิโล อิวาตะ
2
3
1998, 2010 1994, 1997, 2001
กัมบะ โอซากะ
2
3
2007, 2014 2005, 2015, 2016
เจอีเอฟ ยูไนเต็ด ชิบะ
2
1
2005, 2006 1998
คาชิวะ เรย์โซล
2
1
1999, 2013 2020
ชิมิซุ เอส-พัลส์
1
4
1996 1992, 1993, 2008, 2012
คาวาซากิ ฟรอนตาเล
1
4
2019 2000, 2007, 2009, 2017
เซเรซโซ โอซากะ
1
2
2017 2021, 2022
ซานเฟรชเช ฮิโรชิมะ
1
2
2022 2010, 2014
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส
1
1
2001 2018
โออิตะ ทรินิตา
1
0
2008
โชนัน เบลมาเร
1
0
2018
นาโงยะ แกรมปัส
1
0
2021
ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ
0
1
2019

อ้างอิง แก้

  1. "2016 J.League Cup renamed to J.League YBC Levain Cup". J. League. 22 June 2016. สืบค้นเมื่อ 4 September 2016.

แหลงข้อมูลอื่น แก้