กองพลน้อยนานาชาติ (สเปน: Brigadas Internacionales; อังกฤษ: International Brigades) เป็นหน่วยทหารซึ่งประกอบจากอาสาสมัครจากประเทศต่าง ๆ ซึ่งเดินทางไปยังประเทศสเปนเพื่อปกป้องสาธารณรัฐสเปนที่ 2 ในสงครามกลางเมืองสเปนระหว่าง ค.ศ. 1936 และ 1939

ธงของกองพลน้อยนานาชาติ เป็นธงสาธารณรัฐสเปนที่มีดาวสามแฉกของแนวหน้าประชาชนอยู่ตรงกลาง
ธงของแนวหน้าประชาชน องค์กรการเมืองที่ดูแลกองพลน้อยนานาชาติ
ธงกองพลน้อยนานาชาติฮังการี

จำนวนของอาสาสมัครที่เข้ารบอยู่ที่ประมาณ 32,00-35,000 คน โดยในช่วงเวลาหนึ่งมีอาสาสมัครไม่เกิน 20,000 คน[1] อาสาสมัครอีก 10,000 คนน่าจะเข้าร่วมในหน้าที่ที่ไม่เกี่ยวกับการรบ และมีชาวต่างชาติประมาณ 3,000-5,000 คนเป็นสมาชิกของสหภาพแรงงาน Confederación Nacional del Trabajo (CNT) หรือพรรคแรงงานมาร์กซิสต์ Partido Obrero de Unificación Marxista (POUM)[1] คนเหล่านี้มาจาก "53 ชาติ" เพื่อสู้กับกองกำลังชาตินิยมสเปนซึ่งนำโดยนายพล ฟรานซิสโก ฟรังโก และมีกองกำลังนาซีเยอรมนีกับราชอาณาจักรอิตาลีให้การสนับสนุน[2]

สัญลักษณ์นิยมและตราประจำ แก้

กองพลน้อยนานาชาติได้รับอิทธิพลทางสุนทรียศาสตร์ในแบบสังคมนิยม

ธงต่าง ๆ ใช้สีของสาธารณรัฐสเปน : แดง เหลือง และม่วง และมักจะมีสัญลักษณ์สังคมนิยมอยู่ด้วย (ธงแดง ค้อนเคียว กำปั้น) ตราประจำของกองพลน้อยคือดาวแดงสามแฉก ซึ่งมักใช้บ่อยเช่นกัน

ประเทศที่เข้าร่วม แก้

ธง/ประเทศ กำลัง หมายเหตุ
  ฝรั่งเศส 8,962[3]–9,000[2][4]
  อิตาลี 3,000[3][4]–3,350[5]
  เยอรมนี กับ  ออสเตรีย (annexed during the civil war) 3,000[2]–5,000[4] Beevor quotes 2,217 Germans and 872 Austrians.[3] Austrian Resistance documents name 1400 Austrians
  โปแลนด์ 3,000[2][4]–3,113[3]
  สหรัฐ 2,341[3]–2,800[4][5] See Abraham Lincoln brigade.
รัฐบอลข่าน 2,095[3] See Dimitrov Battalion
  สหภาพโซเวียต 2,000-3,000[2] Though "never more than 800 present at any one time".[6]
  บริเตนใหญ่ 2,500 [7]
  เบลเยียม 1,600[4]–1,722[3] See Sixth of February Battalion
  แคนาดา 1,546–2,000[4] Thomas estimates 1,000.[5]
  ยูโกสลาเวีย 1,500[2]–1,660[4] See Yugoslav volunteers in the Spanish Civil War.
  คิวบา 1,101[8][9]
  เชโกสโลวาเกีย 1,006[3]–1,500[2][4]
รัฐบอลติก 892[3]
  อาร์เจนตินา 740[10]
  เนเธอร์แลนด์ 628[3]
  เดนมาร์ก 550 220 died.
  ฮังการี 528[3]–1,500[2]
  สวีเดน 500[11] Est. 799[3]–1,000[5] from Scandinavia (of whom 500 were Swedes.[11])
  โรมาเนีย 500 Even some Romanian communist leaders like Petre Borilă and Emil Bodnăraș
  บัลแกเรีย 462
  สวิตเซอร์แลนด์ 408[3]–800[12]
  ไอร์แลนด์ 250 Split between the British Battalion and the Lincoln Battalion which included the famed Connolly Column
  นอร์เวย์ 225 100 died.[13][14][15]
  ฟินแลนด์ 225 Including 78 Finnish Americans and 73 Finnish Canadians, ca. 70 died.[16]
  เอสโตเนีย 200[17]
  กรีซ 290–400[18]
  โปรตุเกส 134[3]
  ลักเซมเบิร์ก 103 Livre historiographic d'Henri Wehenkel: D'Spueniekämfer (1997)
  สาธารณรัฐจีน 100[19] Organised by the Chinese Communist Party, members were mostly overseas Chinese led by Xie Weijin.[20]
  เม็กซิโก 90
  ไซปรัส 60[18]
  ฟิลิปปินส์ 50 [21][22]
  แอลเบเนีย 43
  คอสตาริกา 24[2]
อื่นๆ 1,122[3]

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 Thomas (2003), pp 941-5; Beevor (2006), p. 257.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 Thomas (2003), pp 941-5
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 3.10 3.11 3.12 3.13 3.14 Lefebvre (2003), p. 16. Quoted by Beevor (2006), p. 468.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7 4.8 Quoted in Alvarez (1996).
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Thomas (1961), pp. 634–639.
  6. Beevor 2006, p. 163
  7. Richard Baxell, British Volunteers in the Spanish Civil War, 2012
  8. "Los voluntarios cubanos en la GCE". สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  9. "New book on Cubans in SCW". สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  10. "Voluntarios Argentinos en la Brigada XV Abraham Lincoln". สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  11. 11.0 11.1 Thomas 2003, p. 943
  12. Daniele Mariani (27 February 2008). "No pardon for Spanish civil war helpers". Swissinfo.[ลิงก์เสีย]
  13. Moen, Jo Stein og Sæther, Rolf: Tusen dager – Norge og den spanske borgerkrigen 1936-1939, Gyldendal 2009, ISBN 978-82-05-39351-6
  14. "frifagbevegelse.no - Nyheter fra arbeidslivet og fagbevegelsen". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-29. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  15. "Tusen dager". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-03. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  16. Juusela, Jyrki: Suomalaiset Espanjan sisällissodassa, Atena Kustannus 2003, ISBN 951-796-324-6
  17. Kuuli, (1965).
  18. 18.0 18.1 efor. "The Greek antifascist volunteers in the Spanish Civil War". EAGAINST.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-10. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  19. China Museum (May 31, 2012). "朱德等赠给国际纵队中国支队的锦旗". chnmuseum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-16. สืบค้นเมื่อ 2017-02-04.
  20. Unknown (March 30, 2005). "战斗在西班牙反法西斯前线的中国支队". Luobinghui. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-07-06. สืบค้นเมื่อ 2017-02-04.
  21. "Spanish Civil War - Filipino Involement [sic]". สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  22. "SPANISH FALANGE IN THE PHILIPPINES, 1936-1945". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้