อินเตอร์คอสมอส (รัสเซีย: Интеркосмос) เป็นโครงการอวกาศของสหภาพโซเวียต มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือพันธมิตรของสหภาพโซเวียตด้านภารกิจทางอวกาศทั้งแบบมีมนุษย์และแบบไม่มีมนุษย์

อินเตอร์คอสมอส
Интеркосмос (รัสเซีย)
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง1967; 57 ปีที่แล้ว (1967)
  • เที่ยวบินแรก: Vertikal 1
  • 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970 (1970-11-28)
  • ขนส่งลูกเรือเที่ยวแรก: โซยุช 28
  • 2 มีนาคม ค.ศ. 1978 (1978-03-02)
  • เที่ยวบินสุดท้าย: อินเตอร์คอสมอส 26
  • 2 มีนาคม ค.ศ. 1994 (1994-03-02)
ยุบเลิกค.ศ. 1994 (1994)
เขตอำนาจ
สำนักงานใหญ่สหภาพโซเวียต
หน่วยงานแม่
ลูกสังกัดหน่วยงาน
แผนที่
{{{map_alt}}}
  ผู้ให้บริการการบินในอวกาศ (สหภาพโซเวียต)
  ผู้เข้าร่วม
  ข้อเสนอที่ถูกปฏิเสธ (ฟินแลนด์)

ประเทศที่เข้าร่วมโครงการนี้ได้แก่ชาติในยุโรปตะวันออกซึ่งเป็นสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอ, สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ และชาติสังคมนิยมอื่น ๆ อย่างอัฟกานิสถาน, คิวบา, มองโกเลีย และเวียดนาม นอกจากนี้ ชาติไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดที่นิยมสหภาพโซเวียตอย่างอินเดียและซีเรีย รวมทั้งฝรั่งเศส (ซึ่งเป็นชาติทุนนิยมและเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาหรือนาโตในบางครั้ง) ก็เข้าร่วมโครงการด้วย

ภารกิจแบบมีมนุษย์ แก้

วันที่ หลัก สำรอง ประเทศ ภารกิจ สถานีอวกาศ
2 มีนาคม 1978   วลัดยิมีร์ แรแม็ก[1] โอลด์ฌิค แป็ลชาก  

เชโกสโลวาเกีย

โซยุช 28
 
ซะลูท 6
27 มิถุนาคม 1978   มีรอสวัฟ แคร์มัตแชฟสกี แซนอน ยังกอฟสกี  

โปแลนด์

โซยุช 30
 
ซะลูท 6
26 สิงหาคม 1978   ซีคมุนท์ เยน เอเบอร์ฮาร์ท เคิลล์เนอร์  

เยอรมนีตะวันออก

โซยุช 31
 
ซะลูท 6
10 เมษายน 1979   แกออร์กี อีวานอฟ อาแล็กซันดร์ อาแล็กซันดรอฟ  

บัลแกเรีย

โซยุช 33
 
ซะลูท 6
(การเชื่อมต่อยานกับสถานีอวกาศล้มเหลว)
26 พฤษภาคม 1980   แบร์ตอล็อน ฟอร์ก็อช เบ-ลอ มัดยอรี  

ฮังการี

โซยุช 36
 
ซะลูท 6
23 กรกฎาคม 1980   ฝั่ม ตวน บู่ย ทัญ เลียม  

เวียดนาม

โซยุช 37
 
ซะลูท 6
18 กันยายน 1980 อาร์นัลโด ตามาโย เมนเดซ โฮเซ โลเปซ ฟัลกอน  

คิวบา

โซยุช 38
 
ซะลูท 6
23 มีนาคม 1981   จุกเดร์เดมิดีน กูร์รักชา ไมดาร์จาวิน กันโซริก  

มองโกเลีย

โซยุช 39
 
ซะลูท 6
14 พฤษภาคม 1981   ดูมีตรู ปรูนารีอู ดูมีตรู เดดีอู  

โรมาเนีย

โซยุช 40
 
ซะลูท 6
24 มิถุนายน 1982   ฌ็อง-ลู เครเตียง ปาทริก โบดรี  

ฝรั่งเศส

โซยุซ ที-6
 
ซะลูท 7
2 เมษายน 1984   ราเกซ เชอร์มา รวิศ มัลโหตรา  

อินเดีย

โซยุซ ที-11
 
ซะลูท 7
22 กรกฎาคม 1987   มุฮัมมัด อะห์มัด ฟาริส  

ซีเรีย

โซยุซ ทีเอ็ม-3
 
มีร์
6 การกฏาคม 1988   อาแล็กซันดร์ อาแล็กซันดรอฟ กราซีมีร์ สตอยานอฟ  

บัลแกเรีย

โซยุซ ทีเอ็ม-5
 
มีร์
29 สิงหาคม 1988 อับดุล อาฮัด โมห์มันด์[2] โมฮัมมัด เดารัน กูลัม มาซุม  

อัฟกานิสถาน

โซยุซ ทีเอ็ม-6
 
มีร์
26 พฤศจิกายน 1988   ฌ็อง-ลู เครเตียง มีแชล ตอญีนี  

ฝรั่งเศส

โซยุซ ทีเอ็ม-7
 
มีร์
2 ธันวาคม 1990   Toyohiro Akiyama Ryoko Kikuchi  

ญี่ปุ่น

โซยุซ ทีเอ็ม-11
 
มีร์
18 พฤษภาคม 1991   Helen Sharman Timothy Mace  

สหราชอาณาจักร

โซยุซ ทีเอ็ม-12
 
มีร์
2 ตุลาคม 1991 Franz Viehböck Clemens Lothaller  

ออสเตรีย

โซยุซ ทีเอ็ม-13
 
มีร์

ดูเพื่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Roberts, Andrew Lawrence (2005). From Good King Wenceslas to the Good Soldier Švejk: a dictionary of Czech popular culture. Budapest: Central European University Press. p. 141. ISBN 963-7326-26-X.
  2. Bunch, Bryan; Hellemans, Alexander (2004). The history of science and technology: a browser's guide to the great discoveries, inventions, and the people who made them, from the dawn of time to today. New York: Houghton Mifflin Harcourt. p. 679. ISBN 0-618-22123-9.