สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย

สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย (มองโกเลีย: Бүгд Найрамдах Монгол Ард Улс (БНМАУ), , Bügd Nairamdakh Mongol Ard Uls (BNMAU)) คือรัฐคอมมิวนิสต์ในเอเชียตะวันออกระหว่าง ค.ศ. 1924 ถึง ค.ศ. 1992 หลังจากมองโกเลียได้รับเอกราชจากจีน จากการช่วยเหลือของสหภาพโซเวียตแต่ต้องสถาปนาการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ตามแบบประเทศเพื่อนบ้าน ลัทธิคอมมิวนิสต์สิ้นสุดลงจากมองโกเลียเมื่อปี ค.ศ. 1991 ปีเดียวกันกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ซึ่งต่อมามองโกเลียได้นำระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภามาใช้กับตน [1]

สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย


Бүгд Найрамдах Монгол Ард Улс
Bügd Nairamdakh Mongol Ard Uls
ค.ศ. 1924–ค.ศ. 1992
ธงชาติมองโกเลีย
ธงชาติ (ค.ศ. 1945–1992)
ตราแผ่นดิน (ค.ศ. 1960–1992)ของมองโกเลีย
ตราแผ่นดิน (ค.ศ. 1960–1992)
คำขวัญ
Орон бүрийн пролетари нар нэгдэгтүн! (มองโกเลีย)
Oron bürijn proletari nar negdegtün!
(การทับศัพท์)

"ชนชั้นกรรมาชีพทั่วโลกจงสามัคคีกัน!"
เพลงชาติมองโกล แองเตอร์นาซิอองนาล (1924–1950)
Монгол Интернационал
Mongol Intyernasional
เพลงชาติสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย (1950–1992)
БНМАУ–ын сүлд дуулал
BNMAU–yn süld duulal
สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียในปี ค.ศ. 1989
สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียในปี ค.ศ. 1989
สถานะรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต
เมืองหลวงอูลานบาตาร์
ภาษาทั่วไปภาษามองโกเลีย
ศาสนา
ศาสนาพุทธ, อเทวนิยม, เชมัน, อิสลาม, คริสต์
การปกครองรัฐเดี่ยว ลัทธิมากซ์-เลนิน รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยม
(1924–1990)
รัฐเดี่ยว ระบบหลายพรรค ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ (1990–1992)
ประธานาธิบดี 
• 1924 (คนแรก)
Navaandorjiin Jadambaa
• 1990–1992 (คนสุดท้าย)
Punsalmaagiin Ochirbat
นายกรัฐมนตรี 
• 1923–1924 (คนแรก)
Balingiin Tserendorj
• 1990-1992 (คนสุดท้าย)
Dashiin Byambasüren
ยุคประวัติศาสตร์สมัยระหว่างสงคราม, สงครามโลกครั้งที่ 2, สงครามเย็น
1 มีนาคม ค.ศ. 1921
• สถาปนา
26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1924
20 ตุลาคม ค.ศ. 1945
• เอกราชจากสาธารณรัฐจีน
5 มกราคม ค.ศ. 1946
25 ตุลาคม ค.ศ. 1961
29 มิถุนายน ค.ศ. 1990
13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992
พื้นที่
19921,564,116 ตารางกิโลเมตร (603,909 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1992
2318000
สกุลเงินทูกรุก
ก่อนหน้า
ถัดไป
รัฐข่านบ็อกด์มองโกเลีย
ประเทศมองโกเลีย

ประวัติศาสตร์

แก้

การเมืองการปกครอง

แก้

บริหาร

แก้

นิติบัญญัติ

แก้

ตุลาการ

แก้

กองทัพ

แก้

เศรษฐกิจ

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Cotton, James (1989). D. K. Adams (บ.ก.). Asian Frontier Nationalism: Owen Lattimore and the American Policy Debates. Manchester University Press. pp. 130. ISBN 978-0-7190-2585-3.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้