เมลอนมิวสิกอะวอดส์

รางวัลความสำเร็จของอุตสาหกรรมดนตรีเกาหลีใต้

เมลอนมิวสิกอะวอดส์ (อังกฤษ: Melon Music Awards; เกาหลี: 멜론 뮤직어워드) เป็นงานประกาศรางวัลดนตรีสำคัญที่จัดขึ้นทุกปีในเกาหลีใต้ จัดโดยกาเกาเอ็นเตอร์เทนเมนต์ (บริษัทกาเกา) ผ่านร้านดนตรีออนไลน์เมลอน

เมลอนมิวสิกอะวอดส์
ปัจจุบัน: เมลอนมิวสิกอะวอดส์ 2023
รางวัลสำหรับความยอดเยี่ยมทางดนตรี
ประเทศเกาหลีใต้
จัดโดยกาเกาเอ็นเตอร์เทนเมนต์
รางวัลแรก
  • 2005 (ออนไลน์)
  • 16 ธันวาคม 2009; 14 ปีก่อน (2009-12-16) (สด)
เว็บไซต์www.melon.com/mma/index.htm
โทรทัศน์/วิทยุ
เครือข่าย

พิธีมอบรางวัลจัดขึ้นครั้งแรกทางออนไลน์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 ถึง 2008 จัดแบบออฟไลน์อย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2009[1]

ประวัติ แก้

งานประกาศรางวัลได้เปลี่ยนโลโก้โดยเริ่มจากปี 2019

เมลอนมิวสิกอะวอดส์ 2020 จัดขึ้นเป็นเวลา 4 วัน ตั้งแต่วันที่ 2 ถึง 5 ธันวาคม เรียกว่า "MMA Week" และออกอากาศทางออนไลน์เนื่องจากข้อจำกัดของรัฐบาลจากการระบาดของโควิด-19ที่กำลังระบาดอยู่[2]

สถานที่จัดงาน แก้

ปี วันที่ สถานที่ เมือง อ้างอิง
2009 16 ธันวาคม 2009 โอลิมปิก ฮอลล์ (โอลิมปิก พาร์ค) โซล [3]
2010 15 ธันวาคม 2010 หอสันติภาพ (มหาวิทยาลัยคยองฮี) [4]
2011 24 พฤศจิยายน 2011 สนามกีฬาโอลิมปิกยิมนาสติก [5]
2012 14 ธันวาคม 2012 [6]
2013 14 พฤศจิกายน 2013 [7]
2014 13 พฤศจิกายน 2014 [8]
2015 7 พฤศจิยายน 2015
2016 19 พฤศจิกายน 2016 โกชอกสกายโดม [9]
2017 2 ธันวาคม 2017 [10]
2018 1 ธันวาคม 2018 [11]
2019 30 พฤศจิกายน 2019 [12]
2020 2-5 ธันวาคม 2020 งานออนไลน์ [13]
2021 4 ธันวาคม 2021 [14]
2022 26 พฤศจิกายน 2022 โกชอกสกายโดม โซล [15]
2023 2 ธันวาคม 2023 อินสไปร์อารีนา อินช็อน [16]

รางวัลใหญ่ แก้

สี่รางวัลใหญ่ (เรียกว่า แดซัง)

บันทึกแห่งปี
ปี ผู้ชนะ
2018 วอนนาวัน
2019 บีทีเอส
2021 เอสปา
2022 บีทีเอส
2023 เอ็นซีทีดรีม

รางวัลหลัก แก้

รางวัลศิลปิน 10 อันดับแรก แก้

ปี ผู้ชนะ[17][18]
2009 ทูพีเอ็ม เกิลส์เจเนอเรชัน คารา K.Will จี-ดรากอน 8eight ซูเปอร์จูเนียร์ ทูเอนีวัน บราวน์อายด์เกิลส์ ดาวีชี
2010 ทูพีเอ็ม เกิลส์เจเนอเรชัน ทูเอเอ็ม ไอยู DJ DOC ซีเอ็นบลู อี ซึง-กี ทูเอนีวัน ที-อารา 4Men
2011 เอฟ(เอกซ์) ซีเครต บีสต์ ไอยู บิกแบง ซิสตาร์ ซูเปอร์จูเนียร์ ทูเอนีวัน ลีซัง ลีนา พัก
2012 ไซ Busker Busker บีสต์ ไอยู บิกแบง ซิสตาร์ อินฟินิต ทูเอนีวัน ที-อารา Huh Gak
2013 ชายนี Busker Busker บีสต์ ไอยู จี-ดรากอน ซิสตาร์ เอ็กโซ ไอลี ไดนามิค ดูโอ ดาวีชี
2014 g.o.d วินเนอร์ บีสต์ ไอยู แทยัง ซิสตาร์ เอ็กโซ ทูเอนีวัน เกิร์ลเดย์ อักมิว
2015 ชายนี เกิลส์เจเนอเรชัน ฮยอกโอ Toy บิกแบง ซิสตาร์ เอ็กโซ San E ไซออน.ที เอพิงก์
2016 บีวาย แทย็อน บีทีเอส จีเฟรนด์ มามามู จีโค่ เอ็กโซ ทไวซ์ เรดเวลเวต อักมิว
2017 Heize วินเนอร์ บีทีเอส ไอยู บิกแบง วอนนาวัน เอ็กโซ ทไวซ์ เรดเวลเวต บลปัลกันโฟร์
2018 ไอคอน เอพิงก์ บีทีเอส บีทูบี มามามู วอนนาวัน เอ็กโซ ทไวซ์ แบล็กพิงก์ บลปัลกันโฟร์
2019 Heize แทย็อน บีทีเอส ช็องฮา มามามู เอ็มซี เดอะแม็กซ์ เอ็กโซ Jannabi Jang Beom-june บลปัลกันโฟร์
2020 Kim Ho-joong แพ็ก เย-ริน บีทีเอส ไอยู โอมายเกิร์ล จีโค่ แบ็กฮย็อน อิม ย็อง-อุง แบล็กพิงก์ ไอซ์วัน
2021 Heize อี มู-จิน บีทีเอส ไอยู ลิลบอย เอ็นซีทีดรีม เอสปา อิม ย็อง-อุง Ash Island อักมิว
2022 บีโอ นิวจีนส์ บีทีเอส ไอยู เมโลแมนซ์ เอ็นซีทีดรีม ไอเดิล อิม ย็อง-อุง ไอฟ์ เซเวนทีน
2023 เอสปา นิวจีนส์ บีทีเอส เลเซราฟิม จ็องกุก เอ็นซีทีดรีม ไอเดิล อิม ย็อง-อุง ไอฟ์ เซเวนทีน

Millions Top 10 Artist Award แก้

ปี ผู้ชนะ
2023 ไอเดิลI Feel' เอสปาMy World บีเอสเอสSecond Wind ไอฟ์I've Ive จ็องกุก – "Seven" (feat. Latto) เลเซราฟิมUnforgiven อิม ย็อง-อุง – "Do or Die" เอ็นซีทีดรีมISTJ นิวจีนส์Get Up เซเวนทีนFML

รางวัลศิลปินหน้าใหม่แห่งปี แก้

ปี[I] ผู้ชนะ
2005 Ivy
2006 ซูเปอร์จูเนียร์
2007 วันเดอร์เกิลส์
2008 ชายนี
2009 ทูเอนีวัน
2010 ซีเอ็นบลู
2011 ฮอกัก
2012 เดี่ยว กลุ่ม
ไอลี บี.เอ.พี
2013 รอย คิม บีทีเอส
2014 วินเนอร์
2015 ชาย หญิง
ไอคอน จีเฟรนด์
2016 แบล็กพิงก์
2017 วอนนาวัน
2018 ชาย หญิง
เดอะบอยซ์ ไอเดิล
2019 ทีบายที อิดจี
2020 คราวิตี วีกลี
2021 เดี่ยว กลุ่ม
อี มู-จิน เอสปา
2022 ไอฟ์
นิวจีนส์
2023 ซีโรเบสวัน
ไรซ์

ประเภทรางวัล แก้

เพลงแร็ป/ฮิปฮอป ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2010 Supreme Team "Dang Dang Dang"
2011 จีดีแอนด์ท็อป "Oh Yeah" (ร่วมกับ ปาร์ค บอม)
2012 ไดนามิค ดูโอ "Without You"
2013 แบซิกิ "Shower of Tears" (ร่วมกับ ไอลี)
2014 ซานอี & เรนา "A Midsummer Night's Sweetness"
2015 แมดคลาวน์ "Fire" (ร่วมกับ Jinsil)
2016 จีโค่[19] "Eureka" (ร่วมกับ ไซออน.ที)
2017 ไดนามิค ดูโอ & เฉิน "Nosedive"
2018 บีทีเอส "Fake Love"
2019 เอพิคไฮ "Lovedrunk" (ร่วมกับ Crush)
2020 Yumdda, Paloalto, เดอะไควเอ็ทท์, Deepflow, ไซมอน โดมินิก "I'mma Do" (ร่วมกับ วู วอน-แจ, Keem Hyo-eun, Nucksal, Huckleberry P)

เพลงบัลลาด ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2010 กัมมี่ "Because You’re A Man"
2011 คิม บอม-ซู "Please"
2012 เควิลล์ "Please Don't"
2013 Huh Gak "Monodrama" (with ยู ซึง-อู)
เควิลล์ "Love Blossom"
2014 เอ็ม.ซี เดอะแม็กซ์ "Wind That Blows"
2015 แพ็ก อา ย็อน "Shouldn't Have" (ร่วมกับ ยองเค)
2016 ช็อง อึน-จี "Hopefully Sky"
อิม ชาง-จอง "The Love I Committed"
2017 ยูน จง-ชิน "Like It"
2018 รอยคิม "Only Then"
2019 แทย็อน "Four Seasons"
2020 ดาวีชี "Dear"

เพลงอาร์แอนด์บี ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2014 ฟลายทูเดอะสกาย "You You You"
2015 Naul "Living in the Same Time"
2016 แบ็กฮย็อน & ซูจี "Dream"
2017 ซูรัน "Wine"
2018 ไอยู "Bbibbi"
2019 Heize "We Don't Talk Together"
2020 แพ็ก เย-ริน "Square (2017)"

เพลงร็อค ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2010 Hot Potato "Confession"
2011 ซีเอ็นบลู "Intuition"
2012 เนลล์ "The Day Before"
2013 โชยองพิล "Bounce"
2014 ซีเอ็นบลู "Can't Stop"
2015 คิม ซองกยู "The Answer"
2016 ฮา ฮยอน-อู "Don't Cry"
2017 คิม ฮี-ซ็อล & มิน คยอง-ฮุน "Sweet Dream"
2018 คิม ฮี-ซ็อล & มิน คยอง-ฮุน "Falling Blossoms"
2019 เอ็น.ฟลายอิง "Rooftop"
2020 ไอยู "Eight" (ร่วมกับ ซูกา)

เพลงทรอท ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2010 ชัง ยุน-จ็อง "Come On"
2015 ฮง จิน-ย็อง "Love Wifi"
2016 ฮง จิน-ย็อง "Thumbs Up"
2017 ฮง จิน-ย็อง & คิม ย็อง-ชุล "Ring Ring (Composer ver.)"
2018 ฮง จิน-ย็อง "Goodbye"
2019 ฮง จิน-ย็อง "Love Tonight"
2020 อิม ย็อง-อุง "Trust in Me"

เพลงป็อป ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2012 มารูนไฟฟ์ "Payphone" (ร่วมกับ วิซ คาลิฟา)
2013 บรูโน มาส์ "Young Girls"
2015 มาร์ก รอนสัน "Uptown Funk" (ร่วมกับ บรูโน มาส์)
2016 จัสติน บีเบอร์ "Love Yourself"
2017 เอ็ด ชีแรน "Shape of You"
2018 กามิลา กาเบโย "Havana" (ร่วมกับ Young Thug)
2019 บิลลี ไอลิช "Bad Guy"
2020 แซม สมิธ "To Die For"
2022 ชาร์ลี พูท "That's Hilarious"

Best Dance แก้

ปี ผู้ชนะ[19] เพลง
2014 ชาย บล็อกบี "Her"
หญิง เอพิงก์ "Mr. Chu"
2015 ชาย บีทีเอส "I Need U"
หญิง เรดเวลเวต "Ice Cream Cake"
2016 ชาย เอ็กโซ "Monster"
หญิง จีเฟรนด์ "Rough"
2017 ชาย เอ็กโซ "Ko Ko Bop"
หญิง ทไวซ์ "Knock Knock"
2018 ชาย วอนนาวัน "Boomerang"
หญิง แบล็กพิงก์ "Ddu-Du Ddu-Du"
2019 ชาย บีทีเอส "Boy with Luv"
หญิง ช็องฮา "Gotta Go"
2020 ชาย บีทีเอส "Dynamite"
หญิง แบล็กพิงก์ "How You Like That"

เพลงโฟล์ค/บลูส์ ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2014 อักมิว "200%"
2015 10cm "Sseudam Sseudam"
2016 10cm[19] "What The Spring??"
2017 Jung Eunji "The Spring"
2018 ฮง จิน-ย็อง "Good Bye"

อินดี้ ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2014 Standing Egg "Lean on Me" (ร่วมกับ Park Se-young)
2015 Standing Egg "The Sunlight Hurts" (ร่วมกับ Wheein & Obroject Yundak)
2016 บลปัลกันโฟร์ "Galaxy"
2017 เมโลแมนซ์ "Gift"
2018 เมโลแมนซ์ "Fairy Tale"
2019 เมโลแมนซ์ "You&I"
2020 บลปัลกันโฟร์ "Leo" (ร่วมกับ แบ็กฮย็อน)

OST ที่ดีที่สุด แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง ละคร/รายการทีวี
2009 Future Liger "Let's Dance" Infinite Challenge
2010 อี ซึง-กี "Losing My Mind" My Girlfriend Is a Nine-Tailed Fox
2011 ซันนี่ ฮิลล์ "Pit-a-Pat" The Greatest Love
2012 ซอ อิน-กุก & จอง อึน-จี "All For You" Reply 1997
2013 ยุน มี-แร "Touch Love" Master's Sun
2014 ลิน "My Destiny" My Love from the Star
2015 โล่โค & ยูจู วงจีเฟรนด์ "Spring is Gone By Chance" A Girl Who Sees Smells
2016 ยุน มี-แร "Always" Descendants of the Sun
2017 ไอลี "I Will Go to You Like the First Snow" Goblin
2018 พอล คิม "Every Day, Every Moment" Should We Kiss First?
2019 กัมมี "Remember Me" Hotel del Luna
2020 โจจอง-ซอก "Aloha" Hospital Playlist
2021 อี มู-จิน "Rain and You" Hospital Playlist 2
2022 เมโลแมนซ์ "Love, Maybe" Business Proposal
2023 อิม แจ-ฮย็อน "Heaven" It Was Spring

การแสดงยอดเยี่ยม แก้

ปี ผู้ชนะ
2020 ชาย มอนสตาเอ็กซ์
2021 ชาย เดอะบอยซ์
2022 ชาย ทีบายที
หญิง เลเซราฟิม
2023 ชาย เซเวนทีน
หญิง เอสปา

รางวัลความนิยม แก้

รางวัลขวัญใจชาวเน็ต แก้

ปี ผู้ชนะ เพลง
2010 ซูเปอร์จูเนียร์ "Bonamana"
2011 ซูเปอร์จูเนียร์ "Mr. Simple"
2012 บีสต์ "Midnight"
2013 เอ็กโซ "Growl"
2014 บีสต์ "Good Luck"
2015 บิกแบง "Bang Bang Bang"
2016 เอ็กโซ "Monster"
2017 เอ็กโซ "Ko Ko Bop"
2018 บีทีเอส "Idol"
2019 บีทีเอส "Boy with Luv"
2020 บีทีเอส "Dynamite"
2021 บีทีเอส "Butter"
2022 อิม ย็อง-อุง "If We Ever Meet Again"

รางวัลฮอตเทรนด์ แก้

ปี ผู้ชนะ ผลงาน หัวข้อ
2010 เกิลส์เจเนอเรชัน "Hoot" ดนตรี
2011 อินฟินิตชาเลนจ์ "West Coast Expressway Music Festival" ซีรีส์วาไรตี
2012 ทรับเบิลเมกเกอร์ "Trouble Maker" ทำงานร่วมกัน
2013 เครยอนป็อป "Bar Bar Bar" ดนตรี
Rose Motel "Longtime Lovers" ดนตรี
2014 โซยู & จองกิโก "Some" ทำงานร่วมกัน
2015 อินฟินิตชาเลนจ์ "Yeongdong Expressway Music Festival" ซีรีส์วาไรตี
2016 จีโค่ "I Am You, You Are Me" เรดิโอสตาร์
2017 ซูรัน & ซูกา "Wine" นักร้องและโปรดิวเซอร์
2018 โลโค่ & ฮวาซา "Don't" ทำงานร่วมกัน
2019 เอบีซิกซ์ ศิษย์เก่าพรอดิวซ์ 101
2020 Mr. Trot 6 รายการเรียลลิตี
2021 เบรฟเกิลส์ "Rollin'" ดนตรี
2022 เลเซราฟิม "Fearless" ดนตรี
2023 จ็องกุก "Seven" ดนตรี

ชนะมากที่สุด แก้

รางวัลใหญ่ที่ได้รับ แก้

รายการนี้รวมถึงศิลปินแห่งปี อัลบั้มแห่งปี เพลงแห่งปี และรางวัลบันทึกแห่งปี

รางวัล ศิลปิน
13 บีทีเอส
5 ไอยู
4 เอ็กโซ
3 เกิลส์เจเนอเรชัน
2 บัสเกอร์ บัสเกอร์
บิกแบง
ทูเอนีวัน
บีสต์
อิม ย็อง-อุง

ได้รับรางวัลมากที่สุดโดยรวม แก้

รางวัล ศิลปิน
39 บีทีเอส
24 ไอยู
17 เอ็กโซ
12 เกิลส์เจเนอเรชัน
9 ทูเอนีวัน
อิม ย็อง-อุง
8 บีสต์
7 บิกแบง
6 วอนนาวัน

การออกอากาศ แก้

เกาหลีใต้ แก้

  • พิธีมอบรางวัลเมลอนมิวสิกอะวอดส์ครั้งแรก ออกอากาศผ่านช่อง CU Media's y-star, Dramax และ Comedy TV channels พันธมิตรทางอินเทอร์เน็ต ได้แก่ Melon, Nate (ซึ่งต่อมาเป็นแบรนด์ในครือ), ก็อมทีวี และ Afreeca TV (2009-2010)
  • ในปี 2010 โลเอ็นเอ็นเตอร์เทนเมนต์ได้ร่วมมือกับเอ็มบีซีพลัสมีเดีย และได้มอบรางวัลคืนผ่าน เอ็มบีซีเอเวอร์รีวัน, เอ็มบีซีดรามาเน็ต (ตั้งแต่ปี 2010-2011 ถึง 2013), เอ็มบีซีเกม (ตอนนี้หมดสัญญา) และ เอ็มบีซีไลฟ์ (ตอนนี้หมดสัญญา) เมื่อเอ็มบีซีมิวสิกได้เปิดตัวในปี 2012 ทางเอ็มบีซีได้ให้เกียรติเป็นสถานีหลักของ MMA ร่วมกับเอ็มบีซีเอเวอร์รีวัน เอ็มบีซีควีน เข้าร่วมในปี 2013
  • Daum เป็นพันธมิตรอินเทอร์เน็ตท้องถิ่นในปี 2013 หนึ่งปีต่อมาบริษัทได้รวมกิจการเข้ากับกาเกา ซึ่งเป็นบริษัทแม่ของโลเอ็น
  • ในปี 2018 งานประกาศรางวัลได้ออกอากาศทาง เจทีบีซี 2 เจทีบีซี 4 วันเดอะเค และกาเกาทีวี ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือกับเจทีบีซีพลัสมีเดีย[20]

ทั่วโลก แก้

  • ตั้งแต่ปี 2011 ทางช่องยูทูบ (โดยเฉพาะช่อง 1theK (เดิมชื่อ LOEN Music) เป็นพันธมิตรการออกอากาศทางอินเทอร์เน็ตของเมลอนมิวสิกอะวอดส์ Zune ของไมโครซอฟท์เป็นพันธมิตรการออกอากาศทางอินเทอร์เน็ตรายแรก (2009)

จีน แก้

ญี่ปุ่น แก้

ประเทศไทย แก้

  • จูกซ์ ผู้ให้บริการเพลงอีกรายหนึ่งของเทนเซ็นต์ร่วมกับบริษัทในเครือสนุก.คอม ได้นำเมลอนมิวสิกอะวอดส์มาสู่ผู้ใช้ในประเทศไทยในปี 2016 และ 2017

ไต้หวัน แก้

  • สิทธิ์ในการรับชมได้รับการจัดการโดยมายมิวสิกเซอร์วิสของไต้หวันโมไบล์

อ้างอิง แก้

  1. Park, Gun-wook (December 17, 2009). "'제 1회 멜론 뮤직어워드', 성공가능성 쐈다". Asia's Economy (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 24, 2021. สืบค้นเมื่อ December 7, 2020.
  2. Son, Jin-ah (October 28, 2020). 멜론뮤직어워드, 12월 첫째주 온라인 개최…MMA WEEK 진행(공식) [(Official) Melon Music Awards, held online in the first week of December…Proceed with MMA Week]. Sports Maekyung (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 31, 2020. สืบค้นเมื่อ December 7, 2020 – โดยทาง Naver.
  3. "음악사이트 멜론, 첫 디지털 음원 연말 시상식 개최!" [Music site Melon hosts the first digital music year-end awards ceremony!]. Sports Kyunghyang (ภาษาเกาหลี). Naver. November 9, 2009. สืบค้นเมื่อ February 6, 2022.
  4. "2010 Melon Music Awards". KBS World (ภาษาอังกฤษ). December 16, 2010. สืบค้นเมื่อ February 6, 2022.
  5. "Winners of 2011 Melon Music Awards". KBS World (ภาษาอังกฤษ). November 24, 2011. สืบค้นเมื่อ November 29, 2021.
  6. "'2012 멜론 뮤직 어워드', 12월14일 열린다" ['2012 Melon Music Awards' to be held on December 14]. Herald Pop (ภาษาเกาหลี). Naver. November 15, 2012. สืบค้นเมื่อ February 6, 2022.
  7. "Top 5 Moments from the Melon Awards 2013". SBS PopAsia. November 18, 2013. สืบค้นเมื่อ February 6, 2022.
  8. "Melon Music Awards - Last Awards". Melon (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 26, 2019. สืบค้นเมื่อ October 15, 2016.
  9. "Melon Music Awards 2016 Introduction". Melon (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 19, 2016. สืบค้นเมื่อ January 26, 2017.
  10. "2017 멜론뮤직어워드, 12월2일 고척돔서 개최[공식]" [2017 Melon Music Awards, held at Gocheok Dome on December 2nd [Official]]. Sports Dong-a. Naver. September 14, 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 1, 2019.
  11. "How BTOB's Changsub filled Eunkwang's vacancy at 2018 MMA". The Korea Herald. December 2, 2018. สืบค้นเมื่อ February 6, 2022.
  12. "BTS set to heat up year-end festivities with performances at home, abroad". The Korea Herald (ภาษาอังกฤษ). November 26, 2019. สืบค้นเมื่อ February 6, 2022.
  13. "멜론뮤직어워드, 12월 첫째주 온라인 개최…MMA Week 진행(공식)" [Melon Music Awards will be held online in the first week of December … MMA Week in progress (official)]. MK Sports (ภาษาเกาหลี). Naver. October 28, 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 1, 2020.
  14. "Melon Music Awards will be virtual again this year". Korea JoongAng Daily (ภาษาอังกฤษ). October 21, 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 10, 2022. สืบค้นเมื่อ October 27, 2021.
  15. "Melon Music Awards 2022 to be held on Nov. 26 at Gocheok Sky Dome". Korea JoongAng Daily (ภาษาอังกฤษ). 2022-09-29. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 21, 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-09-29.
  16. "멜론뮤직어워드 12월 2일 인천 영종도서 개최" [Melon Music Awards held on December 2nd at Yeongjong Island, Incheon]. Yonhap News Agency (ภาษาเกาหลี). Naver. 2023-10-19. สืบค้นเมื่อ 19 October 2023.
  17. "2015 Melon Music Awards Awards categories TOP10". Melon. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 4, 2016. สืบค้นเมื่อ October 23, 2015.
  18. "Melon Music Awards". www.melon.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 13, 2017. สืบค้นเมื่อ November 19, 2016.
  19. 19.0 19.1 19.2 Jeong, G. (November 19, 2016). "The Winners Of The 2016 Melon Music Awards". Soompi. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ December 23, 2016. สืบค้นเมื่อ November 19, 2016.
  20. [단독] 트와이스, 올해 멜론뮤직어워드서 못본다 (ภาษาเกาหลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 31, 2018. สืบค้นเมื่อ October 31, 2018.
  21. "完全生中継!2016 MelOn MUSIC AWARDS (Complete and Live Broadcast! 2016 Melon Music Awards)". LOEN Entertainment, Inc. and M-ON Entertainment, Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 30, 2016. สืบค้นเมื่อ November 21, 2016.