อองกี๋, อองตี๋[b] หรืออองกิ๋ม[c] (ค.ศ. 190 – 9 มิถุนายน ค.ศ. 261)[a] มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า หวาง จี (จีน: 王基; พินอิน: Wáng Jī) ชื่อรอง ปั๋ว-ยฺหวี (จีน: 伯輿; พินอิน: Bóyú) เป็นขุนพลของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊กของจีน[4] เริ่มรับราชการในฐานะข้าราชการชั้นผู้น้อยภายใต้หวาง หลิง (王淩) ข้าหลวงมณฑลเฉงจิ๋ว ในเวลานั้นอองกี๋ได้รับการยกย่องว่าเป็นข้าราชการตัวอย่างที่ปฏิบัติหน้าที่ได้ดี ภายหลังได้ย้ายไปรับราชการในราชสำนักที่นครลกเอี๋ยง ต่อมาได้เลื่อนตำแหน่งเป็นเจ้าเมือง แต่ถูกปลดออกจากตำแหน่งเป็นเวลาสั้น ๆ เมื่อสุมาอี้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งวุยก๊กยึดอำนาจจากโจซองที่เป็นผู้สำเร็จราชการร่วมในรัฐประหารเมื่อปี ค.ศ. 249 อย่างไรก็ตาม อองกี๋ได้รับการเรียกตัวกลับเข้ารับราชการอย่างรวดเร็ว และได้เลื่อนขึ้นเป็นข้าหลวงมณฑลเกงจิ๋วและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นขุนพล ในช่วงตั้งแต่ปี ค.ศ. 251 จนกระทั่งเสียชีวิตในปี ค.ศ. 261 อองกี๋ยังคงรักษาความสัมพันธ์ในการทำงานอย่างใกล้ชิดแต่ด้วยความเชี่ยวชาญกับผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สุมาสูและสุมาเจียว ในช่วงเวลานี้ อองกี๋ได้ดูแลราชการทหารในมณฑลเกงจิ๋ว อิจิ๋ว และยังจิ๋ว และป้องกันชายแดนด้านตะวันออกและด้านใต้ของวุยก๊กจากง่อก๊กที่เป็นรัฐอริของวุยก๊ก อองกี๋ยังช่วยสุมาสูและสุมาเจียวในการปราบปราบสองในสามกบฏในฉิวฉุนในปี ค.ศ. 255 และ ค.ศ. 257-258 ตามลำดับ ในปี ค.ศ. 261 ในช่วงเวลาไม่กี่เดือนก่อนเสียชีวิต อองกี๋ได้คาดการณ์ได้อย่างถูกต้องว่านายทหารง่อก๊กสองนายแสร้งแปรพักตร์เข้าด้วยวุยก๊ก และสามารถป้องกันทัพวุยก๊กจากการตกเข้าสู่กลอุบายของง่อก๊ก

อองกี๋ (หวาง จี)
王基
อองกี๋ ชื่อรอง ปั๋ว-ยฺหวี ขุนพลของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊กของจีน
ศิลาป้ายสุสานอองกี๋
ขุนพลโจมตีภาคใต้
(征南將軍 เจิงหนานเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 259 (259) – ค.ศ. 261 (261)
กษัตริย์โจมอ / โจฮวน
ขุนพลโจมตีภาคตะวันออก
(征東將軍 เจิงตงเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 258 (258) – ค.ศ. 259 (259)
กษัตริย์โจมอ
ขุนพลพิทักษ์ภาคตะวันออก
(鎮東將軍 เจิ้นตงเจียงจฺวิน)
(รักษาการ)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 257 (257) – ค.ศ. 258 (258)
กษัตริย์โจมอ
ข้าหลวงมณฑลอิจิ๋ว (豫州刺史 ยฺวี่โจวชื่อฉื่อ)
(รักษาการ)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 255 (255) – ค.ศ. 257 (257)
กษัตริย์โจมอ
ขุนพลพิทักษ์ภาคใต้
(鎮南將軍 เจิ้นหนานเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 255 (255) – ค.ศ. 257 (257)
กษัตริย์โจมอ
ขุนพลเชิดชูความดุดัน
(揚烈將軍 หยางเลี่ยเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 250 (250) – ค.ศ. 255 (255)
กษัตริย์โจฮอง
ข้าหลวงมณฑลเกงจิ๋ว (荊州刺史 จิงโจวชื่อฉื่อ)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 250 (250) – ค.ศ. 255 (255)
กษัตริย์โจฮอง
ขุนพลโจมตีกบฏ (討寇將軍 เถ่าโค่วเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. 249 (249)
กษัตริย์โจฮอง
เจ้าเมืองอานเฟิง (安豐太守 อานเฟิงเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. 249 (249)
กษัตริย์โจฮอง
เจ้าเมืองอันเป๋ง (安平太守 อานผิงเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์โจยอย
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดค.ศ. 190[a]
นครเจา-ยฺเหวียน มณฑลชานตง
เสียชีวิต9 มิถุนายน ค.ศ. 261 (71 ปี)[a]
ที่ไว้ศพนครลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน
บุตร
  • หวาง ฮุย
  • หวาง ช่าน
บุพการี
  • หวาง เป้า (บิดา)
ความสัมพันธ์
  • หวาง เวิง (อา)
  • หวาง เฉียว (ลูกพี่ลูกน้อง)
อาชีพขุนพล
ชื่อรองปั๋ว-ยฺหวี (伯輿)
สมัญญานามจิ่งโหว (景侯)
บรรดาศักดิ์อานเล่อเซียงโหว (安樂鄉侯)

ประวัติช่วงต้น

แก้

ในฐานะผู้ใต้บังคับบัญชาของหวาง หลิง

แก้

รับราชการในราชสำนัก

แก้

ในฐานะเจ้าเมืองอานเฟิง

แก้

ในฐานะข้าหลวงมณฑลเกงจิ๋ว

แก้

ปราบกบฏบู๊ขิวเขียมและบุนขิม

แก้

ปราบกบฏจูกัดเอี๋ยน

แก้

ในฐานะขุนพลโจมตีภาคใต้

แก้

เสียชีวิต

แก้

ครอบครัว

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 ศิลาป้ายสุสานอองกี๋บันทึกว่าอองกี๋เสียชีวิตในวันซินโฉ่ว (辛丑) ในเดือน 4 ของศักราชจิ่ง-ยฺเหวียน (景元) ปีที่ 2 ในรัชสมัยของโจฮวน ขณะอายุ 72 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก)[1] วันที่นี้เทียบได้กับวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 261 ในปฏิทินกริโกเรียน เมื่อคำนวณแล้วปีเกิดของอองกี๋จึงควรเป็น ค.ศ. 190
  2. ชื่อที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 81[2]
  3. ชื่อที่ปรากฏในสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน) ตอนที่ 82[3]

อ้างอิง

แก้
  1. (... 年七十二,景元二年四月辛丑薨。) เฉฺวียนซานกั๋วเหวิน เล่มที่ 56.
  2. ("สุมาสูก็มานะในใจยืนขึ้นจึงว่า ข้าป่วยเพียงนี้มิพอเปนไรจำจะไปเองจึงจะได้การ ก็ให้สุมาเจียวอยู่รักษาเมือง จึงให้จูกัดตุ้นนายทหารเปนแม่ทัพเมืองอิจิ๋วยกไปตีเมืองชิวฉุน ให้อ้าวจุ๋นนายทหารเปนแม่ทัพเมืองเซงจิ๋ว ยกไปสกัดอยู่ตำบลเจี๋ยวซองเปนทางข้าศึกจะกลับไป ให้อองตี๋นายทหารไปตีตำบลติ่นลำ") "สามก๊ก ตอนที่ ๘๑". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ July 19, 2024.
  3. ("ฝ่ายอองกิ๋มคุมทหารตีเข้าไปทางประตูทิศตวันตก พบอีจ้วนนายทหารเมืองกังตั๋งเข้าจึงร้องว่า ท่านยังจะรบไปถึงไหน เร่งมาสมัคด้วยเราเถิดจะรอดชีวิต") "สามก๊ก ตอนที่ ๘๒". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ July 19, 2024.
  4. de Crespigny (2007), p. 818.

บรรณานุกรม

แก้