สโมสรฟุตบอลลำพูน วอร์ริเออร์

สโมสรฟุตบอลลำพูน วอริเออร์ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน โดยปัจจุบันแข่งขันอยู่ในระดับไทยลีก

ลำพูน วอริเออร์
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลลำพูน วอริเออร์
ฉายาราชันโคขาว
ก่อตั้ง2011; 13 ปีที่แล้ว (2011)
สนามแม่กวงสเตเดียม
จังหวัดลำพูน ประเทศไทย
Ground ความจุ3,000 ที่นั่ง
เจ้าของบริษัท สโมสรฟุตบอลลำพูน จำกัด
ประธานพงษ์ศิริ ฐาราชวงศ์ศึก
ผู้ฝึกสอนอาเลชังดรี กามา
ลีกไทยลีก
2565–66อันดับที่ 6
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน

ประวัติสโมสร แก้

 
สนามกีฬากลางองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน หรือแม่กวงสเตเดียม เป็นสนามเหย้าของสโมสร

ลำพูน วอร์ริเออร์ ถูกก่อตั้งขึ้นโดยความร่วมมือของประชาชนชาวลำพูน และการสนับสนุนจากดิเรก ก้อนกลีบ และสุรชัย อังเกิดโชค ผู้ว่าและรองผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน โดยได้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลลีคภูมิภาคดิวิชัน 2 โซนภาคเหนือ เป็นครั้งแรกในฤดูกาล 2554

ลำพูน วอริเออร์ ได้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลในนามของ "บริษัท สโมสรฟุตบอลลำพูน จำกัด" โดยมีอนุสรณ์ วงศ์วรรณ เป็นประธานสโมสร และมีวิทยา เลาหกุล เป็นที่ปรึกษาของสโมสร

สโมสรมีฉายาว่า "ราชันโคขาว" สีประจำสโมสรคือ สีขาว, สีแดง และสีฟ้า โดยมีชุดแข่งเหย้าเป็นเสื้อสีขาว, กางเกงขาว, ถุงเท้าขาว ส่วนชุดแข่งเยือนเป็นเสื้อสีแดง, กางเกงขาว, ถุงเท้าแดง สนามเหย้าของสโมสรคือสนามกีฬากลางองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน หรือแม่กวงสเตเดียม[1]

ประวัติตราสโมสร
ฤดูกาล 2554 ฤดูกาล 2555 ฤดูกาล 2556 ฤดูกาล 2563
  ไฟล์:LogoLamphunWarrior2012.png ไฟล์:LogoLamphunWarrior2013.png  

ทีมงาน แก้

ตำแหน่ง สัญชาติ ชื่อ
ประธานสโมสร   พงษ์ศิริ ฐาราชวงศ์ศึก
ประธานเทคนิคสโมสร   จงสฤษดิ์ วุฒิช่วย
หัวหน้าผู้ฝีกสอน   อาเลชังดรี กามา
ผู้ช่วยผู้ฝีกสอน  
 
รอระบุ
ธนา ทรัพยะโตษก
ผู้ฝีกสอนผู้รักษาประตู  
 
รอระบุ
เฉลิมพล พรหมศรีโรจน์
ผู้ฝีกสอนฟิตเนส  
 
รัฐพงศ์ ยิ้มแย้ม
พงษ์บวร กินาวงศ์
ทีมแพทย์ประจำสโมสร  
นักกายภาพบำบัด  
 
 
วรวัฒน์ ทะนันไชย
สุทธิพงศ์ เตชาวงศ์
สุพงษ์ มหาวงศ์นนท์
ล่ามประจำสโมสร  
เจ้าหน้าที่ทีม   เจษฏา มาลากุล
เจ้าหน้าที่ทีม   จุฑาภรณ์ คำแสน
เจ้าหน้าที่ทีม   จิรภัทร จารุรัตน์
เจ้าหน้าที่ทีม   สุรพงษ์ มหาวงศนันท์
เจ้าหน้าที่ทีม   ปิยบุตร ฤกษ์ดี
เจ้าหน้าที่ทีม   สมพงษ์ เตมีศักดิ์
เจ้าหน้าที่ทีม   ศศิธร อึ้งทั่ง

ผู้เล่น แก้

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน แก้

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
2 DF   วิทยา มูลวงศ์
3 DF   ศราวุธ อินทร์แป้น
4 DF   กีเก ลินาเรส
6 MF   ทศพล ลาเทศ
7 FW   เฟร์ไรรา ดุส ซังตุส
8 MF   อัครพงศ์ พุ่มวิเศษ
10 FW   เดนนิส มูริลลู
11 FW   มองมองลวีน
14 MF   มุฮัมมัด ออสมัน
16 DF   มิก้า ชูนวลศรี
17 DF   พัชรพล อินทนี
18 GK   อดิศักดิ์ ดวงศรี
19 GK   ปภาวิน สิริทองโสภา
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
20 GK   นนท์ ม่วงงาม
21 DF   ทศพร ชูชิน
22 DF   อาลี ซิสโซโก (กัปตันทีม)
23 DF   วิธวินทร์ คลอวุฒิวัฒน์
24 DF   ศิลา ศรีกำปัง
26 MF   ชัยวัฒน์ บุราณ
32 MF   บวร ตาปลา
33 MF   จักรี ปันคำ
35 FW   สิโรจน์ ฉัตรทอง
38 GK   กรพัฒน์ นารีจันทร์
55 MF   ออสการี เกกโกเนน
66 FW   อนันต์ ยอดสังวาลย์
77 FW   เนเกบา

ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว แก้

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
4 MF   ชลวิทย์ คนึงคิด (ไป เชียงใหม่ ยูไนเต็ด จนจบฤดูกาล)
33 DF   ธนกร น้าวานิช (ไป เชียงใหม่ ยูไนเต็ด จนจบฤดูกาล)
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
44 FW   ธนธรณ์ น้ำจันทร์ (ไป พิษณุโลก จนจบฤดูกาล)
62 MF   เนติธร อินทนนท์ (ไป พิษณุโลก จนจบฤดูกาล)

เกียรติประวัติ แก้

  ชนะเลิศ (1) : 2564–65
  ชนะเลิศ (1) : 2563–64

ผลงานแบ่งตามฤดูกาล แก้

ฤดูกาล ลีก เอฟเอ คัพ ลีก คัพ ผู้ทำประตูสูงสุด
ระดับลีก แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย คะแนน อันดับ ชื่อ จำนวนประตู
2560 ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2560 ตอนบน 26 6 7 13 21 31 25 อันดับ 13
2561 ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2561 ตอนบน 26 13 8 5 36 28 47 อันดับ 3
2562 ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2562 ตอนบน 24 13 6 5 39 23 45 อันดับ 3
2563–64 ไทยลีก 3
โซนภาคเหนือ
15 13 0 2 31 6 39 อันดับ 1 รอบ 32 ทีม งดจัดการแข่งขัน
ไทยลีก 3
รอบแชมเปี้ยนส์ลีก โซนบน
5 4 0 1 8 5 12 อันดับ 1
2564–65 ไทยลีก 2 34 22 8 4 66 30 74 อันดับ 1 รอบ 16 ทีม รอบ 32 ทีม ทาเลส ลิมา ครูซ 22
2565–66 ไทยลีก 30 9 9 12 27 36 36 อันดับ 10 รอบ 16 ทีม รอบ 8 ทีม มุฮัมมัด ออสมัน 5
2566–67 ไทยลีก รอบก่อนรองชนะเลิศ
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 เลื่อนชั้น ตกชั้น

อ้างอิง แก้

  1. "ประวัติความเป็นมา Lamphun Warrior". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-14. สืบค้นเมื่อ 2011-05-12.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้