วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน/การทับศัพท์ภาษาพม่า

การทับศัพท์ภาษาพม่าในที่นี้เป็นหลักการที่กำหนดตามสำนักงานราชบัณฑิตยสภา

หลักทั่วไป

แก้

1. การทับศัพท์ภาษาพม่าตามหลักเกณฑ์นี้ยึดการออกเสียงเป็นหลัก โดยถ่ายเสียงพยัญชนะและเสียงสระตามภาษาพม่ามาตรฐาน และมีตารางเทียบเสียงพยัญชนะและเสียงสระเป็นแนวเทียบ

2. ภาษาพม่าใช้อักษรพม่าเป็นตัวเขียน แต่ในปัจจุบัน การรับคำและชื่อภาษาพม่ามาใช้ในภาษาไทยมักเป็นการรับคำตามที่เขียนด้วยอักษรโรมัน ฉะนั้น จึงกำหนดหลักเกณฑ์การทับศัพท์จากอักษรโรมันโดยให้อักษรพม่าไว้เทียบด้วย

3. การถอดอักษรพม่าเป็นอักษรโรมันในหลักเกณฑ์นี้ใช้หลักการออกเสียงตามที่ปรากฏใน Myanmar–English Dictionary, Department of the Myanmar Language Commission, Ministry of Education, Union of Myanmar. แต่การใช้อักษรโรมันแทนเสียงพม่ามีหลายระบบ หลักเกณฑ์นี้จึงรวบรวมไว้หลายรูปแบบเท่าที่จะเป็นไปได้

4. คำภาษาพม่าที่รับมาใช้ในภาษาไทยเป็นเวลานานแล้วและเขียนเป็นคำไทยจนเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป อาจใช้ต่อไปตามเดิม เช่น บุเรงนอง, มัณฑะเลย์

5. เสียงพยัญชนะและเสียงสระภาษาพม่าหลายเสียงไม่มีในภาษาไทย จึงจำเป็นต้องเลือกพยัญชนะและสระภาษาไทยที่มีเสียงใกล้เคียงมาใช้ เช่น

ny
z
=
=
ญ (ny ในภาษาพม่าออกเสียงนาสิก)
ซ (z ในภาษาพม่าออกเสียงโฆษะ)

อนึ่ง aung ออกเสียงกึ่งระหว่าง เอา ที่มี ง สะกด กับ ออง เพื่อความสะดวกในการเขียนภาษาไทยจึงเลือกใช้ ออง

6. เสียงพยัญชนะภาษาพม่าบางเสียงใช้อักษรโรมันหลายตัวแทนเสียงหนึ่งเสียง กำหนดให้ทับศัพท์ด้วยอักษรไทยตัวเดียว ดังนี้

6.1 อักษร h นำหน้า ได้แก่
hl
hp
hng
=
=
=


hm
hs
hny
=
=
=


hn
ht
=
=

6.2 อักษร h ตามหลัง ได้แก่
ch
sh
=
=

kh
th
=
=

ph =
6.3 อักษรอื่น 2 ตัวคู่กัน ได้แก่
gy
ng
=
=

ky
ny
=
=

7. เสียงสระในภาษาพม่ามีทั้งสระสั้นและสระยาว เช่น a แทนเสียงสระสั้น; ar, ah หรือ are แทนเสียงสระยาว เป็นต้น ในการทับศัพท์จึงกำหนดให้ใช้สระสั้น-ยาวในภาษาไทยแสดงเสียงสระนั้น ๆ เท่าที่อักขรวิธีไทยจะอำนวยให้ (ดูรายละเอียดในตารางเทียบเสียงสระ)

8. ภาษาพม่ามีเสียงวรรณยุกต์ 3 ระดับ คือ เสียงต่ำ เสียงสามัญ และเสียงสูง ซึ่งไม่ตรงกับระดับเสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย นอกจากนี้ ในการถอดอักษรพม่าเป็นอักษรโรมันไม่มีสัญลักษณ์ที่ใช้แสดงเสียงวรรณยุกต์ หลักเกณฑ์การทับศัพท์นี้จึงไม่คำนึงถึงการแสดงเสียงวรรณยุกต์ หากต้องการเทียบเสียงวรรณยุกต์ควรตรวจสอบกับตัวเขียนที่เป็นอักษรพม่า โดยสามารถเทียบระดับเสียงโดยอนุโลมได้ดังนี้

8.1 ระดับเสียงต่ำ ใช้เครื่องหมายจุดเล็กกำกับใต้พยัญชนะ อนุโลมให้เทียบได้เท่ากับเสียงเอกในภาษาไทย[1] เช่น
စွန့်
မြင့်
=
=
สุ่น (ราดทิ้ง)
หยิ่น (สูง)
8.2 ระดับเสียงสูงยาว ใช้เครื่องหมาย 2 จุดเล็กกำกับท้ายพยางค์ อนุโลมให้เทียบได้เท่ากับเสียงโทในภาษาไทย[1] เช่น
ဟင်းခါး
ဒွေး
=
=
ฮี่ก้า (แกงจืดใส่พริกไทยมาก คล้ายแกงเลียง)
ดเว่ (ชื่อบุคคล)
8.3 ระดับเสียงสามัญ ไม่แสดงรูป อนุโลมให้เทียบได้เท่ากับเสียงสามัญในภาษาไทย[2] เช่น
နာရီ
စနေနေ့
=
=
ายี (นาฬิกา, ชั่วโมง)
ะเนเหน่ (วันเสาร์)

อนึ่ง เสียงหยุดท้ายพยางค์ นักวิชาการบางกลุ่มถือว่าเป็นเสียงวรรณยุกต์ด้วย

9. ในระบบเสียงของภาษาพม่าไม่มีเสียงท้าย แต่มีเสียงนาสิกท้ายพยางค์ซึ่งไม่ออกเสียงอย่างพยัญชนะท้ายพยางค์ในภาษาไทย ในอักษรโรมันใช้ n หรือ ng แทนเสียงนาสิกนั้น ในการทับศัพท์กำหนดให้

n
ng
=
=

เช่น
เช่น
sein
aung
=
=
เซ (เพชร)
ออ (ชนะ)
ในกรณีที่พยางค์นั้นมีเสียงสระไอหรือสระโอะ และมีเสียงนาสิกท้ายพยางค์ ให้ใช้เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับพยัญชนะนาสิกนั้น เช่น
kyaing
mount
=
=
ไจง์ (หอมกรุ่น)
โมะน์ (ขนม)

10. พยัญชนะ k และ t ท้ายพยางค์ ทำให้สระในพยางค์นั้นเป็นเสียงสั้น ในการทับศัพท์จะใช้สระสั้นและไม่ทับศัพท์ตัว k และ t เช่น

sein
Myeik
khin
myint
thi
chit
=
=
=
=
=
=
เซน (เพชร)
(มะริด)
คีน (สนิทสนม)
ยิน (สูง)
ตี (รู้)
ชิ (รัก)

11. คำในภาษาพม่าเขียนติดต่อกันไปโดยไม่เว้นวรรค แต่ในการถอดอักษรพม่าเป็นอักษรโรมันมักจะเว้นวรรคเพื่อให้อ่านได้สะดวก ในการทับศัพท์กำหนดให้เขียนติดต่อกันไปโดยไม่เว้นวรรค แต่ถ้าทับศัพท์เป็นภาษาไทยแล้วอาจอ่านแยกพยางค์ผิด จะใส่เครื่องหมายยัติภังค์เพื่อช่วยให้อ่านถูกต้องก็ได้ เช่น

Nyi Nyi Pe
Thuza Nwe
Than Than Myint
Shwepyithar
a-hlu-pwe
=
=
=
=
=
ญีญีเป (ชื่อบุคคล)
ตูซานเว, ตูซา-นเว (ชื่อบุคคล)
ตานตานมยิน, ตานตาน-มยิน (ชื่อบุคคล)
ชเวปยีตา, ชเว-ปยีตา (ชื่อเมือง)
อะลูปเว, อะลู-ปเว (งานบุญ)

ตารางเทียบเสียง

แก้

เสียงพยัญชนะ

แก้
รูปเขียน เสียง ใช้ ตัวอย่าง
อักษรโรมัน อักษรพม่า อักษรโรมัน อักษรพม่า คำทับศัพท์ ความหมาย
B
 b    b  บ  bu-thi  ဘူးသီး  บูตี  น้ำเต้า
   bo  ဗိုလ်  โ  คำนำหน้าชื่อตำแหน่งนายพล
 bw  ဘွ  bw  บว  bwa, bwar  ဘွား  บว  ยาย, ย่า
 ဗွ  bwe  ဗွေ    จุดศูนย์กลางวงกลม
 by  ဗျ  bj  บย  byaing  ဗျိုင်း  ง์  นกยาง
 bya  bja̰, bjə  เบียะ  kinbya  ခင်ဗျ  คีนเบียะ  ครับ
 byar  ဗျာ  bja  เบีย (เมื่ออยู่ท้ายคำ)  kinbyar  ခင်ဗျား  คีนเบีย  สรรพนามบุรุษที่ 2
C
 ch  ခြ  t͡ɕʰ  ช  cha  ခြ    ปลวก
 ချ  Chauk  ချောက်  เาะ  ชื่อเมือง
 chw  ခြွ  t͡ɕʰw  ชว  chwin  ခြွင်း  ชวี  ละเว้น
 ချွ  chwe-ma  ချွေးမ  มะ  ลูกสะใภ้
D
 d    d  ด  daw  ဒေါ်    คำนำหน้าชื่อผู้หญิงเพื่อยกย่อง
   Da-nu-phyu  ဓနုဖြူ  ะนูพยู  ชื่อเมือง
 dw  ဒွ  dw  ดว  Dwe  ဒွေး    ชื่อบุคคล
G
 g    ɡ  ก  gu  ဂူ  กู  ถ้ำ, คูหา
 gw  ဂွ  ɡw  กว  gwa  ဂွ  กว  หนังสติ๊ก, ประแจ
 gy  ဂျ  d͡ʑ  จ  gyin  ဂျင်  จี  ลูกข่าง
 ဂြ  gyo  ဂြိုဟ်  โ  ดาวเคราะห์
H
 h    h  ฮ  hin  ဟင်း  ฮี  กับข้าว, แกง
 hl  လှ    ล  Hlaingtharyar  လှိုင်သာယာ  ไง์ตายา  ชื่อเมือง
 hlw  လွှ  l̥w  ลว  hlwa  လွှ  ลว  เลื่อย
 hm  မှ    ม  hma  မှ    ตั้งแต่, จาก
 hmw  မွှ  m̥w  มว  hmwe  မွှေး    หอม
 hmy  မျှ  m̥j  มย  hmyit  မျှစ်  มยิ  หน่อไม้
 မြှ  hmyin  မြှင့်  มยี  ยกขึ้น
 hmyw  မြွှ  m̥w  มว  hmywa  မြွှာ  มว  แฝด, กลีบของผลไม้
 hn  နှ    น  hnin  နှင်း  นี  หิมะ
 hng  ငှ  ŋ̥  ง  hnget  ငှက်    นก
 hnw  နွှ  n̥w  นว  hnwe  နွှေး    อุ่น (กริยา)
 hny  ညှ  ɲ̥  ญ  hnyat  ညှပ်    ขริบ, หนีบ
 hp      พ  Hpa Sawng  ဖာဆောင်  ะซอง  ชื่อเมือง
 hs      ซ  hsar  ဆား    เกลือ
 hsw  ဆွ  sʰw  ซว  Hswe  ဝဆွ    ชื่อบุคคล
 ht      ท  htu  ထူး  ทู  พิเศษ
 htw  ထွ  tʰw  ทว  htwe  ထွေး    คนสุดท้อง
J
 j  ဂြ  d͡ʑ  จ  ngapi yayjo  ငါးပိရည်ကျို  งะปีเยโ  น้ำปลาร้า
K
 k  က  k  ก  ka  က    เต้นรำ
 kh      ค  khar  ခါး    ขม
 khw  ခွ  kʰw  คว  Khwa-nyo  ခွာညို  ควะโญ  ดอกพวงแก้วกุดั่น
 kw  ကွ  kw  กว  kwa  ကွာ  กว  แตกต่าง, แยก
 ky  ကျ  t͡ɕ  จ  kyar  ကျား    เสือ
 ကြ  kyi  ကြီး  จี  ใหญ่
 kyw  ကျွ  t͡ɕw  จว  kywe  ကျွဲ    ควาย
 ကြွ  kywe  ကြွယ်    ร่ำรวย
L
 l    l  ล  la      เดือน, พระจันทร์
 lw  လွ  lw  ลว  lwin  လွင်  ลวี  ชัดเจน, โดดเด่น
 ly  လျ  lj, j  ลย  lyaung  လျောင်း  ลยอง  เอนนอน
M
 m    m  ม  ma      ยก
 mw  မွ  mw  มว  mwe  မွေး    เลี้ยงดู, ให้กำเนิด
 my  မျ  mj  มย  myo  မျိုး    สายพันธุ์
 မြ  myit  မြစ်  มยิ  แม่น้ำ
 mya  မြ  mja  เมีย  myat  မြတ်  เมีย  ประเสริฐ
 Myanmar  မြန်မာ  เมียนมา  พม่า
 myw  မျွ  mw  มว  mywe  မြွေ    งู
N
 n    n  น  ne  နေ  เ  ตะวัน
 ɰ̃  น  zun  ဇွန်း  ซู  ช้อน
 ng    ŋ  ง  ngar  ငါး    ปลา
 င်  ɰ̃ (เมื่อตามหลัง ai)  ง์  hlaing  လှိုင်  ไลง์  มากหลาย
 ngw  ငွ  ŋw  งว  ngwe  ငွေ    เงิน
 nt  န့်  ɰ̃  น  nyunt  ညွန့်  ญุ  ส่วนยอด
 င့်  myint  မြင့်  มยิ  สูง
 nw  နွ  nw  นว  nwe  နွယ်    เถาวัลย์
 ny    ɲ  ญ  nya  ညာ    โกหก
 ငြ  nyinyu  ငြီးငြူ  ญีญู  บ่น
P
 p    p  ป  pa  ပါး    แก้ม
 b (เมื่ออยู่ระหว่างสระ)  บ  zadawpae  စားတော်ပဲ
 [zədɔ̀bɛ́]
 ซะดอแ  ถั่วหัวช้าง
 ph      พ  phu  ဖူး  พู  ไหว้
 phw  ဖွ  pʰw  พว  phwar  ဖွား  พว  กำเนิด
 pw  ပွ  pw  ปว  pwe  ပွဲ    งาน, พิธี
R
 r  [# 1]  ɹ  ร  ratha  ရသ  ะตะ  รส
 raba  ရာဘာ  าบา  ยางพารา
S
 s    s  ซ  sa  စာ    อักษร
 sh  ရှ  ʃ  ช  Shan  ရှမ်း  าน  ไทใหญ่
 ယှ  shin  ယှဉ်  ชี  เทียบเคียง
 လျှ  sho  လျှို  โ  ห้วยลึก, หุบเขาลึก, ซุกซ่อน, ปกปิด, ก้มลง, ลอดใต้
 shw  ရွှ  ʃw  ชว  shwe  ရွှေ    ทอง
 sw  စွ  sw  ซว  swe  စွယ်    งา, เขี้ยว
T
 t    t  ต  tu  တူ  ตู  หลาน
 d (เมื่ออยู่ระหว่างสระ)  ด  Nay Pyi Taw  နေပြည်တော်
 [nèpjìdɔ̀]
 เนปยี  ชื่อเมืองหลวง
 tin  တင်  tɪɰ̃  ทิน[# 2]  Thakhin Tin  သခင်တင်  ตะคีนทิน  ชื่อบุคคล
 U Tin Thut  ဦးတင်ထွဋ်  อูทินทุ  ชื่อบุคคล
 th    θ  ต  thu  သူ  ตู  เขา (สรรพนามบุรุษที่ 3)
 thin  သင်  θɪɰ̃  ทิน[# 2]  U Thin  ဦးသင်း  อูทิน  ชื่อบุคคล
W
 w    w  ว  wa  ဝါး    ไผ่
Y
 y    j  ย  ya  ယာ    ไร่
 yw  ရွ  jw  ยว  ywa  ရွာ  ยว  หมู่บ้าน
Z
 z    z  ซ  zar  ဇာ    ผ้าลูกไม้
   zei  ဈေး  เ  ตลาด
หมายเหตุ
  1. มักใช้ในคำยืม
  2. 2.0 2.1 ใช้ ทิน แทนคำทับศัพท์ ตีน เพื่อเลี่ยงคำไม่สุภาพ

เสียงสระ

แก้
รูปเขียน เสียง ใช้ ตัวอย่าง
อักษรโรมัน อักษรพม่า อักษรโรมัน อักษรพม่า คำทับศัพท์ ความหมาย
A
 a  –  a̰, ə  –ะ  ka  က  ก  เต้นรำ
 kya  ကြ  จ  คำปัจจัยที่อยู่หลังคำกริยาเพื่อแสดงความเป็นพหูพจน์
 ma  မှ  ม  ตั้งแต่, จาก
 mayar  မယား  มยา  เมีย
 anyar  အညာ  อญา  ภาคกลาง
 sayarma  ဆရာမ  ซยาม  ครูผู้หญิง
   à  –า  Ayeyawadi[# 1]  ဧရာဝတီ  เอยวะดี  แม่น้ำอิรวดี
 ae    ɛ́  แ–  khae  ခဲ    ก้อนหิน
 ယ်  ɛ̀  wae  ဝယ်    ซื้อ
 ဲ့  ɛ̰  hmae  မှဲ့    ไฝ
 ah  ား  á  –า[# 2]  Kayah  ကယား  กะย  ชื่อรัฐ
 aik[# 3]  ိုက်  aɪ̯ʔ  ไ–  Kyaikhtiyo  ကျိုက်ထီးရိုး  จทีโย  ชื่อเจดีย์
 aing  ိုင်  àɪ̯ɰ̃  ไ–ง์  kyaing  ကြိုင်  ง์  หอมกรุ่น
 Hlaingtharyar  လှိုင်သာယာ  ง์ตายา  ชื่อเมือง
 air[# 4]    ɛ́  แ–  zadawpair  စားတော်ပဲ  ซะดอ  ถั่วหัวช้าง
 an[# 5]  န်း  áɰ̃  –าน  pan  ပန်း  ปาน  ดอกไม้
 မ်း  Shan  ရှမ်း  ชาน  ไทใหญ่
 န်  àɰ̃  kan  ကန်  กาน  บ่อน้ำ
 ant[# 6]  န့်  a̰ɰ̃  –ัน  lant  လန့်  ลัน  ตระหนก
 kant  ကန့်  กัน  กำมะถัน
 ar    à  –า  kar  ကာ  ก  กั้น
   khar  ခါ  ค  สะบัด
 ား  á  kyar  ကြား  จ  ได้ยิน
 ါး  khar  ခါး  ค  ขม, เอว
 are[# 7]  ား / ါး (สระ 2 ตัวนี้ใช้แทนกันได้)  á  –า  aregazar  အားကစား  อกะซา  กีฬา
 at[# 6]  ပ်    –ะ  sat  စပ်  ซ  เผ็ด
 တ်‌  nat  နတ်‌  น  เทวดา
 auk[# 3]  ောက်  aʊ̯ʔ  เ–าะ  Kyauktagar  ကျောက်တံခါး  าะตะกา  ชื่อเมือง
 aung  ောင်  àʊ̯ɰ̃  –อง  maung  မောင်  มอง[# 8]  คำนำหน้าชื่อเด็กผู้ชาย
 ေါင်  paung  ပေါင်  ปอง  ต้นขา
 aw  ော်  ɔ̀  –อ  Kyaw  ကျော်  จ  ชื่อบุคคล
 ေါ်  khaw  ခေါ်  ค  เรียก
 ay    è  เ–  nay  နေ    ดวงอาทิตย์
 ေး  é  kyay oh  ကြေးအိုး  จโอ  ก๋วยเตี๋ยวน้ำแบบพม่า
 aye[# 9]  ေး  é  เ–  aye  အေး    เย็น, หนาว
   ʔè  เอ  Ayeyarwadi  ဧရာဝတီ  เอยาวะดี  แม่น้ำอิรวดี
E
 e    è  เ–[# 10]  Shwepyithar  ရွှေပြည်သာ  ชวปยีตา, ชว-ปยีตา  ชื่อเมือง
 ေ့    sanene  စနေနေ့  ซะเน  วันเสาร์
   ɛ́  a-hlu-pwe  အလှူပွဲ  อะลูปว, อะลู-ป  งานบุญ
 ယ်  ɛ̀  Wakema  ဝါးခယ်မ  วาคมะ  ชื่อเมือง
 ee[# 11]    í  –ี  naryee  နာရီ  นายี  นาฬิกา, ชั่วโมง
 eik[# 3]  ိတ်  eɪ̯ʔ  เ–ะ  Myeik  မြိတ်  ม  มะริด (ชื่อเมือง)
 eik  အိတ်    กระเป๋า
 ိပ်  eik  အိပ်    นอน, นอนหลับ
 ein  ိန့်  ḛɪ̯ɰ̃  เ–น  a-mein  အမိန့်  อะ  คำสั่ง
 ိမ့်  a-nyein  အငြိမ့်  อะ  การแสดงที่นักแสดงหญิงจะร้องเพลงและเต้น มีเสียงดนตรีเบา ๆ คลอ และมักมีนักแสดงตลกร่วมด้วย
 ိန်  èɪ̯ɰ̃  sein  စိန်    เพชร
 ိမ်  einthar  အိမ်သား  ตา  สามี
 ိန်း  éɪ̯ɰ̃  thein  သိန်း    แสน
 ိမ်း  sein  စိမ်း    เขียว
 et[# 6]  က်  ɛʔ  เ–ะ[# 12]  let  လက်    มือ
I
 i      –ี[# 13]  thi  သိ  ตี  รู้
   ì  naryi  နာရီ  นายี  นาฬิกา, ชั่วโมง
 ီး  í  phayethi  ဖရဲသီး  พะเยตี  แตงโม
 in  င်  ɪ̀ɰ̃  –ีน  khin  ခင်  คีน  สนิทสนม
 င်း  ɪ́ɰ̃  hingar  ဟင်းခါး  ฮีนกา  แกงจืดใส่พริกไทยมาก คล้ายแกงเลียง
 int[# 6]  င့်  ɪ̰ɰ̃  –ิน  myint  မြင့်  มยิน  สูง
 it[# 6]  စ်  ɪʔ  –ิ  chit  ချစ်  ชิ  รัก
 Myitkyina  မြစ်ကြီးနား  มยิจีนา  ชื่อเมือง
O
 o  ို  ò  โ–  ngapi yayjo  ငါးပိရည်ကျို  งะปีเย  น้ำปลาร้า
 oe  ိုး  ó  โ–  Soe Thein  စိုးသိန်း  ซเตน  ชื่อบุคคล
 oh  ိုး  ó  โ–  kyay oh  ကြေးအိုး  เจ  ก๋วยเตี๋ยวน้ำแบบพม่า
 ohn  ုန်း  óʊ̯ɰ̃  โ–น  ohn  အုန်း    มะพร้าว
 oi  ွိုင်  wàɪ̯  –อย  Loikaw  လွိုင်ကော်  ลอยกอ  ชื่อเมือง
 ok[# 3]  ဥက်  ʔoʊ̯ʔ  โอะ  Okkalarpa  ဥက္ကလာပ  โอะกะลาปะ  ชื่อเมือง
 on  ွန်  ʊ̀ɰ̃  โ–น[# 14]  Mon  မွန်    มอญ
 one  ုန်  òʊ̯ɰ̃  โ–น  tone  တုန်    สั่น, เขย่า
 ုံ  pone  ပုံ    รูปภาพ, รูปร่าง, นิทาน
 ုံး  óʊ̯ɰ̃  htone  ထုံး    ปูนกินกับหมาก
 oo  ူး  ú  –ู  Ba Oo  ဘဦး  บะอู  ชื่อบุคคล
 ouk[# 3]  ုတ်  oʊ̯ʔ  โ–ะ  khouk  ခုတ်    ฟัน
 ုပ်  thouk  သုပ်‌    ยำ
 oun  ုံး  óʊ̯ɰ̃  โ–น  Umin-thoun-se  ဥမင်သုံးဆယ်  อูมีนเซ  ชื่อเจดีย์
 ount[# 6]  ုန့်  o̰ʊ̯ɰ̃  โ–ะน์  mount  မုန့်  ะน์  ขนม
 ုံ့  chount  ချုံ့  ะน์  ย่อ, หด
 out[# 6]  ဥတ်  ʔoʊ̯ʔ  โอะ  U Out-ta-ma  ဦးဥတ္တမ  อูโอะตะมะ  ชื่อบุคคล
U
 u  ဦး  ʔú  อู  u  ဦး  อู  คำนำหน้าชื่อผู้ชายเพื่อยกย่อง
     –ู[# 15]  nu  နု  นู  อ่อน
 un  ွန်  ʊ̀ɰ̃  –ูน  sun  စွန်  ซูน  ว่าว, เหยี่ยว
 ွန်း  ʊ́ɰ̃  zun  ဇွန်း  ซูน  ช้อน
 sun  ဆွမ်း  ซูน  ภัตตาหาร
 unt[# 6]  ွန့်  ʊ̰ɰ̃  –ุน  sunt  စွန့်  ซุน  ราดทิ้ง
 ွံ့  sunt-ah  ဆွံ့အ  ซุนอา  ใบ้, หนวก
 ut[# 6]  ွတ်  ʊʔ  –ุ  lut  လွတ်  ลุ  หลุดพ้น
 uu      –ู[# 15]  Suu  စု  ซู  ชื่อบุคคล
หมายเหตุ
  1. ในภาษาพม่า เสียงนี้เป็นเสียงยาว ควรถอดเป็นอักษรโรมันโดยใช้ ar เป็น Ayeyarwadi แต่คำนี้นิยมถอดเป็น Ayeyawadi ในกรณีนี้จึงให้ทับศัพท์ตามเสียงจริงเป็น เอยวะดี
  2. ในเอกสารโบราณอาจใช้ ah แทนเสียงสระสั้น
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 k เมื่ออยู่ท้ายพยางค์ ทำให้เสียงสระของพยางค์นั้นเป็นเสียงสั้น
  4. air เป็นวิธีการเขียนสระ ae อีกแบบหนึ่งตามอักขรวิธีภาษาอังกฤษ
  5. บางแห่งเขียนสระนี้เป็น ang
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 6.8 t เมื่ออยู่ท้ายพยางค์ ทำให้เสียงสระของพยางค์นั้นเป็นเสียงสั้น
  7. are เป็นวิธีการเขียนสระ ar อีกแบบหนึ่งตามตามอักขรวิธีภาษาอังกฤษ
  8. คำ มอง ในภาษาไทยใช้ หม่อง
  9. aye เป็นวิธีการเขียนสระ ay อีกแบบหนึ่งตามตามอักขรวิธีภาษาอังกฤษ
  10. หลักเกณฑ์การทับศัพท์จากอักษรพม่ากำหนดให้ถอดเสียง และ ယ် เป็น แ– เช่น အလှူပွဲ = อะลูปว, อะลู-ปว, ဝါးခယ်မ = ว่าคมะ
  11. ee เป็นวิธีการเขียนสระ i อีกแบบหนึ่งตามตามอักขรวิธีภาษาอังกฤษ
  12. หลักเกณฑ์การทับศัพท์จากอักษรพม่ากำหนดให้ถอดเสียง က် เป็น แ–ะ เช่น လက် =
  13. หลักเกณฑ์การทับศัพท์จากอักษรพม่ากำหนดให้ถอดเสียง เป็น –ิ เช่น သိ = ติ
  14. หลักเกณฑ์การทับศัพท์จากอักษรพม่ากำหนดให้ถอดเสียง ွန် เป็น –ูน เช่น မွန် = มูน
  15. 15.0 15.1 หลักเกณฑ์การทับศัพท์จากอักษรพม่ากำหนดให้ถอดเสียง เป็น –ุ เช่น နု = นุ, စု = ซุ

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาพม่า (เมียนมา) ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561. หน้า 36.
  2. สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาพม่า (เมียนมา) ฉบับราชบัณฑิตยสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2561. หน้า 37.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้